การใช้ประโยชน์จากเปลือกกล้วยในการผลิตไขพืชใช้ในอุตสาหกรรมยาและเครื่องสำอาง

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=001722&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: ศศิธร วสุวัต; ประคอง บุญคง
ชื่อเรื่อง: การใช้ประโยชน์จากเปลือกกล้วยในการผลิตไขพืชใช้ในอุตสาหกรรมยาและเครื่องสำอาง
Article title: Utilization of banana waste (peel) to produce was to be used in drug and cosmetic industries
ชื่อเอกสาร : การประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 16 สาขาพืช ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน 2521: รวมเรื่องย่อ
หน่วยงานจัดพิมพ์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สถานที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปีพิมพ์: 2521
หน้า: หน้า 88
จำนวนหน้า: 126 หน้า
ภาษา: ไทย
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย)
แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก581 2526)
หมวดหลัก: Q70-Processing of agricultural wastes
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: MUSA (BANANAS), PEEL, WAX PLANTS, USES, DRUGS
ดรรชนี-ไทย: กล้วย, เปลือกกล้วย, ไขพืช, การผลิต, การใช้ประโยชน์, อุตสาหกรรมยา, เครื่องสำอาง
หมายเลข: 001722 KC1601089
เอกสารฉบับเต็ม: [Download Fulltext]
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: มีคำสำคัญเหมือนกัน   ผู้แต่งคนเดียวกัน

การใช้ประโยชน์ของถั่วมะแฮะในการทำคุกกี้

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=001650&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: อุดม กาญจนปกรณ์ชัย; อนุกูล พลศิริ; สมชาย ประภาวัต
ชื่อเรื่อง: การใช้ประโยชน์ของถั่วมะแฮะในการทำคุกกี้
Article title: Utilization of pigeon pea for making cookies
ชื่อเอกสาร : การประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 16 สาขาพืช ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน 2521: รวมเรื่องย่อ
หน่วยงานจัดพิมพ์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สถานที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปีพิมพ์: 2521
หน้า: หน้า 17
จำนวนหน้า: 126 หน้า
ภาษา: ไทย
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย)
แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก581 2526)
หมวดหลัก: Q02-Food processing and preservation
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: PIGEON PEAS, BISCUITS, PRODUCTION, FLOURS, QUALITY, USES
อรรถาภิธาน-ไทย: ถั่วแระ; บิสกิต; การผลิต; แป้งที่ได้จากพืช; คุณภาพ; การใช้
ดรรชนี-ไทย: ถั่วมะแฮะ, คุกกี้, การผลิต, แป้งถั่วมะแฮะ, คุณภาพ, การใช้ประโยชน์
หมายเลข: 001650 KC1601017
เอกสารฉบับเต็ม: [Download Fulltext]
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: มีคำสำคัญเหมือนกัน   ผู้แต่งคนเดียวกัน

การศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับตลาดน้ำมันมินต์และเมนธอล

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=001385&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: พิพิธ ศุภพิพัฒน์
ชื่อเรื่อง: การศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับตลาดน้ำมันมินต์และเมนธอล
Article title: Preliminary market study of Mentha arvensis oil and menthol
ชื่อเอกสาร : รายงานการประชุมทางวิชาการเกษตรศาสตร์ และ ชีววิทยาแห่งชาติ ครั้งที่ 14 สาขาพืช ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2-4 กุมภาพันธ์ 2518
Source title : Proceedings of the national conference on Agricultural and Biological Sciences fourteenth session: Plant Science
หน่วยงานจัดพิมพ์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สถานที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปีพิมพ์: 2518
หน้า: หน้า 232-242
จำนวนหน้า: 498 หน้า
ภาษา: ไทย
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย, อังกฤษ)
แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก58 2518)
หมวดหลัก: E70-Trade, marketing and distribution
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: MENTHA ARVENSIS, MINT, OILS, MENTHOL, MARKETS, USES, DEMAND
ดรรชนี-ไทย: น้ำมันมินท์, เมนทอล, ตลาด, การใช้ประโยชน์, ความต้องการใช้, ผู้ผลิต, ผู้ค้า
หมายเลข: 001385 KC1401023
เอกสารฉบับเต็ม: [Download Fulltext]
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: มีคำสำคัญเหมือนกัน   ผู้แต่งคนเดียวกัน

แบลกวัตตัลในประเทศไทย

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=000665&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: ประเสริฐ โพธิปักษ์
ชื่อเรื่อง: แบลกวัตตัลในประเทศไทย
Article title: Black wattle in Thailand
ชื่อเอกสาร : รายงานการประชุมทางวิชาการเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 6 : สาขาพืชและชีววิทยา สาขาสัตว์ สาขาเศรษฐศาสตร์เกษตร ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 30 มกราคม – 2 กุมภาพันธ์ 2510
Source title : Proceedings of the national conference on Agricultural Sciences sixth session : Plant and Biological Sciences, Animal Science, and Agricultural Economics
หน่วยงานจัดพิมพ์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สถานที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปีพิมพ์: 2510
หน้า: หน้า 112-113
จำนวนหน้า: 646 หน้า
ภาษา: ไทยอังกฤษ
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย, อังกฤษ)
แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก58 2510)
หมวดหลัก: K10-Forestry production
หมวดรอง: K50-Processing of forest products
ดรรชนี-ไทย: แบลกวัตตัล, ACACIA MOLLISSIMA, ไม้โตเร็ว, การเจริญเติบโต, การใช้ประโยชน์
หมายเลข: 000665 KC0601047
เอกสารฉบับเต็ม: [Download Fulltext]
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: ผู้แต่งคนเดียวกัน

การดำเนินการในลุ่มน้ำตัวอย่างห้วยแม่ใน จังหวัดเชียงใหม่

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=000628&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: เทียม คมกฤส
ชื่อเรื่อง: การดำเนินการในลุ่มน้ำตัวอย่างห้วยแม่ใน จังหวัดเชียงใหม่
Article title: Operations in the pilot watershed of Huey Me Nai, Chiengmai
ชื่อเอกสาร : รายงานการประชุมทางวิชาการเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 6 : สาขาพืชและชีววิทยา สาขาสัตว์ สาขาเศรษฐศาสตร์เกษตร ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 30 มกราคม – 2 กุมภาพันธ์ 2510
Source title : Proceedings of the national conference on Agricultural Sciences sixth session : Plant and Biological Sciences, Animal Science, and Agricultural Economics
หน่วยงานจัดพิมพ์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สถานที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปีพิมพ์: 2510
หน้า: หน้า 19-22
จำนวนหน้า: 646 หน้า
ภาษา: ไทยอังกฤษ
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย, อังกฤษ)
แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก58 2510)
หมวดหลัก: P10-Water resources and management
ดรรชนี-ไทย: ลุ่มน้ำ, การจัดการ, การตกตะกอน, การปลูกป่า, การทำแผนที่, การใช้ประโยชน์, ที่ดิน, จ.เชียงใหม่, ห้วยแม่ใน
หมายเลข: 000628 KC0601010
เอกสารฉบับเต็ม: [Download Fulltext]
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: ผู้แต่งคนเดียวกัน

เปรียบเทียบการใช้ประโยชน์จากกากมะพร้าว และใบกระถินป่นเพื่อเป็นแหล่งอาหารเสริมโปรตีน ในการเลี้ยงปลาตะเพียนขาวในกระชัง

ศาสตร์เกษตรดินปุ๋ย-ขอบคุณแหล่งข้อมูล : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=005620&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: พิจิตร พันธ์ศรี; เกษม เชตะวัน
ชื่อเรื่อง: เปรียบเทียบการใช้ประโยชน์จากกากมะพร้าว และใบกระถินป่นเพื่อเป็นแหล่งอาหารเสริมโปรตีน ในการเลี้ยงปลาตะเพียนขาวในกระชัง
Article title: Comparative study on the utilization of coconut meal and leucaena leaf meal as a protein supplement for common silver barb (Puntius ganionotus Bleeker) production in the cage
ชื่อเอกสาร : การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 31 สาขาสัตว์ ประมง สัตวแพทยศาสตร์ 3-6 กุมภาพันธ์ 2536
Source title : Proceedings of the 31st Kasetsart University Annual Conference: Animal Science, Fisheries and Veterinary Science
หน่วยงานจัดพิมพ์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; กระทรวงเกษตรและสหกรณ์; กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม; ทบวงมหาวิทยาลัย
สถานที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปีพิมพ์: 2536
หน้า: หน้า 473-480
จำนวนหน้า: 686 หน้า
ภาษา: ไทย
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย, อังกฤษ)
แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SF5 ก58 2536)
หมวดหลัก: M12-Aquaculture production
หมวดรอง: Q54-Feed composition
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: PUNTIUS; COCONUTS; LEUCAENA; FEED MEALS; SUPPLEMENTS; CAGE CULTURE; FEEDING; INGREDIENTS; GROWTH RATE
ดรรชนี-ไทย: ปลาตะเพียนขาว, กากมะพร้าว, ใบกระถินป่น, อาหารเสริมโปรตีน, การใช้ประโยชน์, การให้อาหาร, สูตรอาหาร, อัตราการเจริญเติบโต, ต้นทุนค่าอาหาร
บทคัดย่อ: เปรียบเทียบการใช้ประโยชน์จากกากมะพร้าวและใบกระถินป่น เพื่อเป็นแหล่งอาหารเสริมโปรตีนในการเลี้ยงปลาตะเพียนขาว ทดลองโดยแบ่งปลาออกเป็น 3 กลุ่ม แบ่งเป็นกลุ่มละ 3 กระชัง ๆ ละ 20 ตัว เลี้ยงด้วยอาหารเสริมโปรตีนที่แตกต่างกัน คือ กลุ่มที่ 1 ใช้อาหารข้นเสริมกากมะพร้าว กลุ่มที่ 2 ให้อาหารข้นเสริมใบกระถินป่น กลุ่มที่ 3 ให้อาหารข้นสูตรควบคุม ใช้เวลาเลี้ยงทั้งหมด 2 เดือน ตลอดการทดลองพบว่า อัตราการเจริญเติบโตของปลาที่ได้รับอาหารทั้ง 3 สูตร ไม่มีความแตกต่างกัน แต่มีแนวโน้มอัตราเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อ (FCR.) แตกต่างกัน ค่า FCR. ของการเลี้ยงในระยะ 1 เดือนแรกต่ำกว่า FCR. เมื่อเลี้ยงครบ 2 เดือน อย่างเห็นได้ชัด กล่าวคือ ในระยะ 1 เดือนแรก ปลาที่ได้รับอาหารข้นสูตรควบคุมจะมีค่า FCR. ต่ำสุดคือ 1.69 ส่วนกลุ่มที่ได้รับอาหารข้นเสริมใบกระถินป่นและอาหารข้นเสริมกากมะพร้าวจะมีค่า FCR. สูงขึ้นตามลำดับ คือ 1.93 และ 2.37 เมื่อเลี้ยงครบ 2 เดือน ค่า FCR. ของปลาทั้ง 3 กลุ่มทดลอง ไม่มีความแตกต่างกัน คือ 2.97, 2.3 และ 2.44 ตามลำดับ ข้อมูลจากงานทดลองครั้งนี้ ให้ข้อเสนอแนะได้ว่า ใบกระถินป่นมีแนวโน้มที่จะนำมาใช้เพื่อเป็นแหล่งอาหารเสริมโปรตีนสำหรับเลี้ยงปลาตะเพียนขาวที่มีอายุไม่เกิน 2 เดือน ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงกว่าการให้กากมะพร้าวป่น
หมายเลข: 005620 KC3104022
เอกสารฉบับเต็ม: [Download Fulltext]
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: มีคำสำคัญเหมือนกัน   ผู้แต่งคนเดียวกัน

ชีวประวัติบางประการของปลาซิวแก้วในอ่างเก็บน้ำเขื่อนอุบลรัตน์

ศาสตร์เกษตรดินปุ๋ย-ขอบคุณแหล่งข้อมูล : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=004189&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: ลมโชย มูลเค้า; ครรชิต วัฒนาดิลกกุล; นภาพร ศรีพุฒินิพนธ์
ชื่อเรื่อง: ชีวประวัติบางประการของปลาซิวแก้วในอ่างเก็บน้ำเขื่อนอุบลรัตน์
Article title: Life history of Clupeichthys aesarnensis Wongratana in Ubolratana reservoir
ชื่อเอกสาร : รายงานการประชุมทางวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 25 สาขาประมง 3-5 กุมภาพันธ์ 2530 ณ สถาบันประมงน้ำจืดแห่งชาติ และศูนย์วิจัยอารักขาข้าว
Source title : Proceedings of the 25th Kasetsart University conference Fisheries Section February 3-5, 1987
หน่วยงานจัดพิมพ์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สถานที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปีพิมพ์: 2530
หน้า: หน้า 246-255
จำนวนหน้า: 504 หน้า
ภาษา: ไทย
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย, อังกฤษ)
แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์
หมวดหลัก: M40-Aquatic ecology
หมวดรอง: L60-Animal taxonomy and geography
L53-Animal physiology – Reproduction
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: CLUPEOIDEI; FRESHWATER FISHES; BIOLOGY; CLASSIFICATION; SEX DIFFERENTIATION; YIELDS; GEOGRAPHICAL DISTRIBUTION; FERTILITY; FEEDING HABITS; GROWTH; USES; NUTRITIVE VALUE; MARKETING; WATER RESERVOIRS; THAILAND
ดรรชนี-ไทย: ปลาซิวแก้ว, ชีววิทยา, อนุกรมวิธาน, ความแตกต่างระหว่างเพศ, การแพร่กระจาย, ผลผลิต, ความดกของไข่, ความแก่ของไข่, น้ำเชื้อ, การกินอาหาร, ความยาว, น้ำหนัก, คุณค่าทางอาหาร, การใช้ประโยชน์, การตลาด, อ่างเก็บน้ำ, เขื่อนอุบลรัตน์
หมายเลข: 004189 KC2504025
เอกสารฉบับเต็ม: [Download Fulltext]
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: มีคำสำคัญเหมือนกัน   ผู้แต่งคนเดียวกัน

การศึกษาเกี่ยวกับเกล็ดปลาแซลมอน

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=000151&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: อันธีประชา อิศรางกูร
ชื่อเรื่อง: การศึกษาเกี่ยวกับเกล็ดปลาแซลมอน
Article title: King salmon scale studies
ชื่อเอกสาร : รายงานการประชุมทางวิชาการเกษตรศาสตร์และชีววิทยา ครั้งที่ 2 (สาขาพืชและชีววิทยา) ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน 30 มกราคม – 1 กุมภาพันธ์ 2506
Source title : Proceedings of the 2nd national conference on Agriculture and Biology: Plant and Biological Science
หน่วยงานจัดพิมพ์: สภาวิจัยแห่งชาติ; มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สถานที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปีพิมพ์: 2506
หน้า: หน้า 60
จำนวนหน้า: 492 หน้า
ภาษา: ไทย
แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก58 2506)
หมวดหลัก: L52-Animal physiology – Growth and development
หมวดรอง: L60-Animal taxonomy and geography
ดรรชนี-ไทย: ปลาแซลมอน, เกล็ดปลา, การใช้ประโยชน์, งานวิจัย, การเจริญเติบโต, อายุของปลา, การจำแนกชนิด
หมายเลข: 000151 KC0201009
เอกสารฉบับเต็ม: [Download Fulltext]
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: ผู้แต่งคนเดียวกัน

ศูนย์การศึกษาพัฒนาเกษตรอินทรีย์เรนโบว์ฟาร์ม

แหล่งติดตามวารสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์

ผ่านทางagdb3.

ผู้ แต่ง:
ชื่อ เรื่อง: ศูนย์การศึกษาพัฒนาเกษตรอินทรีย์เรนโบว์ฟาร์ม
ภาษา: ไทย
ชื่อ วารสาร: วารสารข่าวปศุสัตว์
วัน ที่: ก.ค.-ก.ย. 2551
ฉบับ ที่/หน้า: 30(268) หน้า 22-23
แหล่งติดตามวารสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์
หมวด หลัก: E20-Organization, administration and management of agricultural enterprises or farms
หมวด รอง: L01-Animal husbandry
หมวด รอง: F01-Crop husbandry
อร รถาภิธาน-อังกฤษ: ORGANIC AGRICULTURE; PILOT FARMS; DUCKS; ORYZA SATIVA; RICE; RICE FIELDS; ANIMAL HUSBANDRY; FARMYARD MANURE; USES; MARKETING
อร รถาภิธาน-ไทย: เกษตรอินทรีย์; ฟาร์มทดลอง; เป็ด; ORYZA SATIVA; ข้าว; นาข้าว; การเลี้ยงสัตว์; ปุ๋ยคอก; การใช้; การตลาด
ดรรชนี-ไทย: เกษตรอินทรีย์, ศูนย์การศึกษา, เป็ด, ข้าว, การเลี้ยง, นาข้าว, มูลเป็ด, การใช้ประโยชน์, การตลาด, จ.เชียงใหม่ อ.แม่ริม
หมาย เลข: 018631 TAB000125514720 สั่งสำเนา เอกสาร
ค้น ข้อมูลใกล้เคียง: มี คำสำคัญเหมือนกัน

การผลิตและการใช้ประโยชน์จากอาร์ทีเมีย

การผลิตและการใช้ประโยชน์จากอาร์ทีเมีย

ผ่านทางการผลิตและการใช้ประโยชน์จากอาร์ทีเมีย.

ชีววิทยาของอาร์ทีเมีย

อาร์ทีเมียหรือไรสีน้ำตาล หรือไรน้ำเค็ม มีชื่อสามัญว่า “Artemia” หรือ “Brine shrimp” เป็นสัตว์น้ำเค็มจัดอยู่ในจำพวกครัสเตเซียน (Crustacean) เช่นเดียวกับพวกกุ้ง กั้ง และปู แต่ว่าอาร์ทีเมียจะไม่มีเปลือกแข็งหุ้มตัว โดยทั่วไปแล้ววงการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำทั่วโลกรู้จักกันดี เพราะนิยมนำเอาอาร์ทีเมียไปใช้ในการอนุบาลลูกสัตว์น้ำวัยอ่อน จำพวกกุ้ง ปู และปลาชนิดต่าง ๆ ทั้งนี้เพราะว่าอาร์ทีเมียมีคุณสมบัติที่ดีคือ
1. มีคุณค่าทางอาหารสูง
2. มีขนาดที่เหมาะสม
3. สามารถเก็บรักษาให้คงสภาพมีชีวิตอยู่ได้เป็นเวลานานหลายปี อาร์ทีเมียมีคุณสมบัติพิเศษคือ ตัวอ่อนของอาร์ทีเมียซึ่งถูกห่อหุ้มด้วยเปลือกสีน้ำตาล หรือที่เรียกว่า ไข่ (Cyst) สามารถที่จะเก็บรักษาให้คงสภาพมีชีวิตอยู่ได้นานหลายปี และเมื่อต้องการใช้ก็สามารถนำมาเพาะฟักโดยใช้ระยะเวลาอันสั้นก็จะได้ตัวอ่อน อาร์ทีเมีย นำไปเป็นอาหารลูกสัตว์น้ำวัยอ่อนต่อไป นอกจากจะเป็นอาหารสัตว์น้ำโดยตรงแล้ว ยังสามารถนำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ได้ เช่น อาร์ทีเมียแช่แข็ง (Frozen Artemia) อาร์ทีเมียผง (Spray dry Artemia) อาร์ทีเมียแผ่น (Artemia flake) หรือใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตอาหารสำเร็จรูปที่มีโปรตีนสูงได้อีกด้วย
4. ช่วยในการบำบัดรักษาน้ำ เนื่องจากอาร์ทีเมียกินอาหารโดยการกรองรวบรวมสิ่งแขวนลอยทุกอย่างในน้ำที่มี ขนาดเล็กกว่าช่องปาก ทั้งแบคทีเรีย (bacteria) แพลงก์ตอน (plankton) ซากเน่าเปื่อย (detritus) อนุภาคอินทรีย์สาร (organic particles)
การสืบพันธุ์ (Reproduction)
อาร์ทีเมียสืบพันธุ์ได้ทั้ง 2 แบบคือ แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction) และไม่อาศัยเพศ (parthenogenesis) ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ ให้ลูกได้ทั้ง 2 แบบ
– แบบออกลูกเป็นตัว (ovoviviparous) โดยไข่จะฟักเป็นตัวภายใน uterus ก่อนคลอดออกมาเป็นตัว สังเกตได้จาก uterus จะมีสีขาว ถ้าในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมแม่จะให้ลูกชุดใหม่ได้ทุก ๆ 3-4 วัน
– แบบออกลูกเป็นไข่ (oviparous) ไข่จะฟักเป็นตัวภายนอก uterus ลักษณะของไข่จะอยู่ในรูปของไข่ที่มีเปลือกแข็งห่อหุ้มมองเห็น เป็นสีน้ำตาล
ในรอบของการสืบพันธุ์เพศเมียแต่ละตัวจะให้ลูกออกเป็นตัวหรือเป็น ไข่เพียงแบบใดแบบหนึ่งเท่านั้น หลังจากที่อาร์ทีเมียฟักเป็นตัวใช้เวลา 7-15 วัน เพื่อพัฒนาจนโตเต็มวัย และจะมีอายุประมาณ 1-3 เดือน สามารถสืบพันธุ์ได้หลายครั้ง ความดกของไข่ประมาณ 50-300 ฟอง ขึ้นอยู่กับขนาดของแม่และสายพันธุ์
วงจรชีวิตของอาร์ทีเมีย (Life cycle of Artemia)
อาร์ทีเมียที่ออกลูกเป็นตัวหรือที่ออกลูกเป็นไข่แล้วฟักออกเป็นตัว จะให้ตัวอ่อน (nauplius) ซึ่งตัวอ่อนในระยะแรกนี้เรียกว่า อินสตาร์ I (Instar I) มีรูปร่างคล้ายลูกแพร์หรือรูปไข่ มีความยาว 400-500 ไมครอน หรือ 0.40-0.52 มิลลิเมตร มีสีส้มแกมน้ำตาลของไข่แดง (yolk) ตัวอ่อนระยะแรก (Instar I) ประมาณ 12 ชั่วโมง มีการลอกคราบและเป็นตัวอ่อนระยะที่ 2 (Instar II) ซึ่งจะเริ่มกินอาหาร เจริญเติบโตและลอกคราบประมาณ 15 ครั้ง ตัวอ่อนจะเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะไปจากเดิมเป็นระยะอินสตาร์ต่อ ๆ ไป ในเวลา 7-15 วัน จะเป็นอาร์ทีเมียตัวเต็มวัย (adult) มีขนาด 7-15 มิลลิเมตร และสามารถให้ลูกได้ 2 ลักษณะคือ เป็นตัวอ่อน (nauplius) และเป็นไข่ (Cysts) ขึ้นอยู่กับสภาวะแวดล้อม ซึ่งโดยปกติแล้วในสภาวะแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม อาร์ทีเมียส่วนใหญ่จะออกลูกเป็นไข่ อาร์ทีเมียจะเริ่มผลิตไข่ได้ใหม่หลังจากออกลูกครั้งก่อนผ่านไปอย่างน้อย 2 วัน
อาหารและการกินอาหาร (Food and feeding)
โดยปกติอาร์ทีเมียมีขนาดของช่องปากประมาณ 60 ไมครอน กินอาหารโดยการกรอง (filtering feeder) การกินอาหารแบบนี้ไม่สามารถเลือกอาหารได้ แต่จะกรองทุกสิ่งทุกอย่างที่มีขนาดเล็กกว่าช่องปากเพื่อใช้เป็นอาหาร ดังนั้นอาหารของอาร์ทีเมียจึงมีทั้งประเภทที่มีชีวิตและประเภทที่ไม่มีชีวิต
– อาหารประเภทมีชีวิต ได้แก่ ไดอะตอม (diatom) สาหร่ายสีเขียวขนาดเล็กเซลล์เดียว (green algae) สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน (blue green algae) แบคทีเรีย (bacteria) ยีสต์ (yeast) และพวกสัตว์หน้าดิน (benthos) ที่มีขนาดเล็ก เป็นต้น
– อาหารประเภทที่ไม่มีชีวิต ได้แก่ มูลสัตว์ชนิดต่าง ๆ รำ กากถั่ว ปลาป่น เลือดสัตว์ นม และซากพืชซากสัตว์ที่ป่นละเอียดหรือเน่าสลายจนมีขนาดเล็กมาก
การเลี้ยงอาร์ทีเมีย (Artemia culture)
กรมประมงประสบความสำเร็จในการเลี้ยงอาร์ทีเมียในบ่อดิน เป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2522 ในการเลี้ยงอาร์ทีเมียในบ่อดินบริเวณนาเกลือที่น้ำมีความเค็มจัด หลังจากนั้นก็มีเกษตรกรเลี้ยงอาร์ทีเมียในบ่อดินเป็นอาชีพมาจนถึงปัจจุบัน อาร์ทีเมียเป็นสัตว์น้ำเค็มที่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ในช่วงความเค็มที่ค่อน ข้างกว้าง ระหว่าง 3-240 ส่วนในพัน แต่ในแหล่งน้ำธรรมชาตินั้น สามารถพบอาร์ทีเมียได้เฉพาะในแหล่งน้ำที่มีความเค็มสูงมาก
หลักเกณฑ์ทั่วไปสำหรับการเลี้ยงอาร์ทีเมีย
1. การเลือกพื้นที่ พื้นที่ที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงอาร์ทีเมีย ควรอยู่ใกล้แหล่งน้ำเค็มจัด เช่น นาเกลือ สภาพพื้นดินควรเป็นดินเค็มและสามารถเก็บกักน้ำได้ดี มีการคมนาคมสะดวกใกล้แหล่งอาหารที่เป็นเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ได้แก่ มูลสัตว์ ซากพืช ซากสัตว์ ตลอดจนใกล้โรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น โรงงานผลิตอาหารสัตว์ โรงงานปลาป่น ฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ เป็นต้น
2. การสร้างบ่อ สร้างให้ตามความยาวของบ่อไปตามทิศทางลม เพื่อที่น้ำในบ่อจะได้มีการหมุนเวียนได้ดี และเก็บรวบรวมผลผลิตได้ง่าย ขนาดของบ่อควรอยู่ระหว่าง 1-5 ไร่ ความลึกประมาณ 1-1.5 เมตร ลักษณะการขุดบ่อหรือสร้างบ่อทำเช่นเดียวกับบ่อเลี้ยงกุ้งหรือเลี้ยงปลา ควรมีการวางระบบควบคุมความเค็มของน้ำไว้ด้วย
3. การเตรียมบ่อ
– บ่อใหม่ ถ้าสภาพดินเป็นกรดควรปรับสภาพด้วยปูนขาวหรือปูนมาร์ลให้เป็นกลางหรือเป็น ด่างอ่อน ๆ (pH 7.5-9.0) เสียก่อน ในการกำจัดศัตรูของอาร์ทีเมียนั้น สามารถที่จะใช้น้ำที่มีความเค็มสูงมาก ๆ เช่น น้ำดีเกลือ (ความเค็ม 350 ส่วนในพัน) ใส่ลงไป
– บ่อเก่า ควรมีการปรับปรุงสภาพบ่อปีละ 1-4 ครั้ง โดยสูบน้ำและอาร์ทีเมียไปใส่บ่ออื่น ๆ ก่อน แล้วทำการขุดลอกเลนตากบ่อไว้ 1-4 สัปดาห์ จากนั้นทำการกำจัดศัตรูของอาร์ทีเมียโดยใช้น้ำดีเกลือเช่นเกัน
4. การเตรียมน้ำ น้ำที่ใช้เลี้ยงอาร์ทีเมียในบ่อดินนั้น ควรมีความเค็มผันแปรอยู่ระหว่าง 70-170 ส่วนในพัน pH 7.5-9 โดยสูบน้ำดีเกลือจากนาเกลือในต้นฤดูฝน หรือน้ำเค็มจากบ่ออื่น ๆ ที่ตากไว้ หรือน้ำเค็มจากบ่อเลี้ยงกุ้ง เลี้ยงปลา หรือน้ำเค็มจากบ่อเลี้ยงอาร์ทีเมียบ่ออื่น ใส่ลงในบ่อเลี้ยงอาร์ทีเมีย ผสมน้ำให้ได้ความเค็มสูงตามที่กำหนด ความลึกของน้ำอยู่ระหว่าง 30-100 เซนติเมตร ก่อนปล่อยอาร์ทีเมียลงเลี้ยงประมาณ 3-5 วัน ควรมีการเตรียมอาหารให้อาร์ทีเมียที่เริ่มปล่อย โดยในระหว่างการเตรียมน้ำควรใส่มูลสัตว์ประมาณ 200 กิโลกรัม หรือกากผงชูรสประมาณ 150 ลิตร หรือปุ๋ยยูเรียประมาณ 20 กิโลกรัม/ไร่ เพื่อเป็นการสร้างห่วงโซ่อาหารขึ้นภายในบ่อ
5. อัตราการปล่อยอาร์ทีเมีย
– ปล่อยอาร์ทีเมียวัยอ่อนที่ได้จากการเพาะฟักไข่ประมาณ 150-200 กรัม/ไร่
– ปล่อยอาร์ทีเมียตัวโตเต็มวัยประมาณ 5-6 กิโลกรัม/ไร่
6. การจัดการน้ำ ตลอดระยะเวลาที่เลี้ยงอาร์ทีเมียจะไม่มีการเปลี่ยนน้ำ มีแต่การเติมน้ำเค็มต่ำลงในบ่อ 2-3 ครั้ง ๆ ละประมาณ 3-5 เซนติเมตร ยกเว้นในช่วงฝนตก ถ้าฝนตกมากให้ระบายน้ำจืดที่ผิวน้ำออก เพื่อควบคุมระดับความเค็มและความลึกของน้ำให้อยู่ในระดับที่ต้องการ
7. การให้อาหาร
– การใส่อาหารลงในบ่ออาร์ทีเมียโดยตรง แต่ต้องทยอยใส่โดยหว่านทีละน้อย ๆ อาร์ทีเมียจะกินอาหารไปส่วนหนึ่ง อาหารที่เหลือก็จะเน่าสลายได้แบคทีเรีย และปุ๋ยก่อให้เกิดแพลงก์ตอนชนิดต่าง ๆ สำหรับปริมาณที่ให้จะแตกต่างกันออกไปตามชนิดของอาหาร เช่น มูลไก่ใช้ประมาณ 200 กิโลกรัม/ไร่/เดือน ร่วมกับกากผงชูรสประมาณ 30-90 ลิตร/ไร่/เดือน แต่ในปัจจุบันสามารถใช้ซากพืช ซากสัตว์ ที่เป็นชิ้นใหญ่ใส่ลงในบ่อเลี้ยงเพื่อให้เกิดการเน่าสลายหรือย่อยสลายเป็นอา หารของอาร์ทีเมียได้เช่นกัน หรือจะใช้น้ำทิ้งจากบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำอื่น โดยการสูบเติมลงในบ่ออาร์ทีเมีย ซึ่งจะเป็นประโยชน์ทั้งในการปรับระดับความเค็มของน้ำในบ่อ และยังเป็นการให้อาหารไปด้วยพร้อมกัน
– นำเอาเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรไปหมักเพื่อให้เกิดแพลงก์ตอนอาหารที่อาร์ ทีเมียกินได้ก่อน แล้วจึงนำไปให้เป็นอาหารของอาร์ทีเมียต่อไป ซึ่งระบบนี้สามารถควบคุมคุณภาพของน้ำในบ่อเลี้ยงอาร์ทีเมียได้ดีกว่า
8. การเจริญเติบโต หลังจากปล่อยอาร์ทีเมียลงเลี้ยงประมาณ 10-15 วัน จะพบอาร์ทีเมียขนาดโตเต็มวัยในบ่อเป็นจำนวนมาก เมื่อพบตัวอ่อนรุ่นใหม่และไข่ลอยอยู่ที่ผิวน้ำ อาร์ทีเมียที่เลี้ยงในบ่อดินจะมีอายุประมาณ 1-3 เดือน การเก็บเกี่ยวผลผลิตนั้น ถ้าระบบการจัดการดีจะสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ตลอดไป แต่ผู้เลี้ยงต้องเลือกเอาว่าจะเก็บผลผลิตเป็นตัวหรือเป็นไข่ หรือเก็บทั้งไข่ทั้งตัว ถ้าต้องการเก็บเอาตัวออกเกือบทุกวัน อาร์ทีเมียขนาดตัวโตเต็มวัยจะมีปริมาณน้อย ซึ่งอาร์ทีเมียจะออกลูกเป็นตัวเสียส่วนใหญ่ แต่ถ้าเก็บไข่ต้องไม่ซ้อนตัวขนาดโตเต็มวัยออก ต้องปรับสภาพแวดล้อมเพื่อกระตุ้นให้เพศเมียออกลูกเป็นไข่มากกว่าออกเป็นตัว และถ้าต้องการผลผลิตทั้งไข่และตัว ควรดำเนินการผลิตไข่ก่อน จนกระทั่งอาร์ทีเมียนั้นมีอายุมาก ซึ่งจะให้ปริมาณไข่ลดลงจึงช้อนเก็บรวบรวมตัวอาร์ทีเมียขนาดโตออก
9. ผลผลิต
– ผลผลิตตัวอาร์ทีเมีย ประมาณ 50-100 กิโลกรัม/ไร่/เดือน
– ผลผลิตไข่อาร์ทีเมีย น้ำหนักเปียก ประมาณ 5-10 กิโลกรัม/ไร่/เดือน
10. ข้อควรคำนึง
10.1 ศัตรูของอาร์ทีเมีย ได้แก่ สัตว์น้ำต่าง ๆ นก แมลงน้ำบางชนิด โคพีพอดบางชนิด โรติเฟอร์ โปรโตซัวบางชนิด เป็นต้น สามารถควบคุมได้โดยการรักษา ทั้งระดับความลึกและความเค็มของน้ำในบ่อให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมคือ 70-170 ส่วนในพัน พร้อมทั้งกรองน้ำทุกครั้งเมื่อสูบน้ำเข้าบ่อ
10.2 ความเค็มของน้ำในบ่อเลี้ยงลดลงในช่วงฤดูฝน ป้องกันได้โดยการปรับระดับความเค็มของน้ำในบ่อให้สูงถึง 170 ส่วนในพัน และรักษาระดับความลึกของน้ำในบ่อให้ได้ไม่ต่ำกว่า 50 เซนติเมตร ก่อนเข้าฤดูฝน รวมทั้งจัดระบบระบายน้ำจืดที่ผิวน้ำ
10.3 การตายหมดบ่อในหน้าร้อน เกิดจากการแบ่งชั้นของน้ำ โดยน้ำที่อยู่ในชั้นล่างจะมีความเค็มสูง ทำให้มีอุณหภูมิสูงตามไปด้วย ประกอบกับการขาดออกซิเจน สามารถแก้ไขได้โดยการทำให้เกิดการไหลเวียนของน้ำในบ่อ
10.4 การเกิดตะไคร่น้ำหรือขี้แดด เนื่องจากพื้นบ่อมีความอุดมสมบูรณ์มาก ประกอบกับแสงแดดสามารถส่องไปยังพื้นก้นบ่อได้ดี แก้ไขได้โดยการใช้โซ่ลากบริเวณพื้นบ่อเพื่อให้ตะไคร่น้ำหลุดลอยขึ้นมา แล้วใช้ประชอนช้อนขึ้นแล้วนำไปตากหรือหมักแล้วนำกลับมาใช้เป็นอาหารอาร์ที เมียได้อีก แต่ถ้ามีปริมาณมากเกินควรสูบน้ำไปไว้บ่ออื่น แล้วตากบ่อให้แห้งแล้วจึงจะนำน้ำเค็มกลับมาใส่ในบ่อเพื่อเริ่มเลี้ยงใหม่
10.5 การเกิดปัญหาพื้นบ่อเน่า เนื่องจากมีอาหารเหลือมากเกินไปตกลงพื้นก้นบ่อ แก้ไขได้โดยการลากไข่ หรือใช้ไม้คราดกวนบริเวณพื้นก้นบ่อ ซึ่งนอกจากจะแก้ปัญหาพื้นก้นบ่อเน่าเสียแล้ว ยังเป็นการทำให้อาหารที่ตกลงไปข้างล่างได้ฟุ้งกระจายขึ้นมาทำให้อาร์ทีเมีย กินได้อีก
การนำอาร์ทีเมียไปใช้ประโยชน์ซึ่งส่วนใหญ่ก็เป็นการนำไปเป็นอาหาร ของสัตว์น้ำ ซึ่งพอจะแบ่งรูปแบบการใช้ประโยชน์จากผลผลิตของอาร์ทีเมียได้ 2 รูปแบบคือ ตัวอาร์ทีเมีย (Artermia biomass) และไข่ (Cysts)
ตัวอาร์ทีเมีย
1. การใช้ประโยชน์ในรูปของอาร์ทีเมียสดที่ยังมีชีวิต ซึ่งต้องดูขนาดของสัตว์น้ำที่เราจะเลี้ยงให้เหมาะสมกับการที่จะนำอาร์ทีเมีย ไปเป็นอาหาร
1.1 อาร์ทีเมียแรกฟัก นิยมใช้เป็นอาหารของลูกกุ้ง ลูกปลา ลูกปู
1.2 อาร์ทีเมียตัวโตเต็มวัย นิยมใช้เป็นอาหารของลูกกุ้ง หรือลูกปลาที่มีขนาดโตขึ้นมา ตลอดจนเป็นอาหารของปลาสวยงามหรือสัตว์ทั่ว ๆ ไป
2. การใช้ประโยชน์ในรูปของตัวอาร์ทีเมียแช่แข็ง (Freezing) เป็นการเก็บรักษาอาร์ทีเมียให้คงสภาพความสด แต่ไม่มีชีวิตในช่วงระยะเวลาไม่นานนักเพื่อที่จะใช้
2.1 อาร์ทีเมียตัวโตเต็มวัยแช่แข็ง
2.2 อาร์ทีเมียแรกฟักแช่แข็ง
3. การใช้ประโยชน์ในรูปของอาร์ทีเมียโดยการแปรรูป เป็นอาหารในประเภทของอาหารสำเร็จรูปในลักษณะในรูปแบบต่าง ๆ และเป็นการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์อาร์ทีเมียไว้ได้นานเพื่อที่จะได้นำมาใช้เป็น อาหารในยามที่ต้องการ โดยมีรูปแบบการอบแห้ง ดังนี้
3.1 การใช้แสงแดด (sun drying) เป็นวิธีการที่ง่ายใช้เครื่องมือน้อย ผลิตภัณฑ์ตัวอาร์ทีเมียที่ได้จากวิธีนี้ อาจมีการสูญเสียคุณค่าทางอาหารไปบ้าง
3.2 การอบแห้งแบบพ่นเป็นผง (spray drying) เป็นวิธีการอบแห้งแบบพ่นเป็นผงลักษณะเดียวกันกับอุตสาหกรรมนมผง กาแฟผง ลักษณะของอาหารจะได้เป็นผงละเอียด มีขนาด 30-70 ไมครอน ซึ่งใกล้เคียงกับขนาดของแพลงก์ตอนที่ใช้เป็นอาหารของสัตว์น้ำวัยอ่อน
3.3 การอบแห้งแบบการระเหิด (freeze drying) เป็นวิธีการอบแห้งที่อุณหภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง โดยทำให้อาหารอยู่ในสภาพแช่แข็ง แล้วทำให้น้ำระเหิดออกไป ผลิตภัณฑ์อาหารแห้งที่ได้จะมีคุณภาพสูง เนื่องจากวิธีนี้จะไม่ทำให้คุณสมบัติทางกายภาพและเคมีเปลี่ยนไป อาหารแห้งที่ได้เมื่อรวบกับน้ำแล้วจะสามารถกลับสู่ลักษณะเดิมได้ทั้งขนาดและ รูปร่าง
ไข่อาร์ทีเมีย
1. การเก็บรักษาไข่อาร์ทีเมียโดยการหมักเกลือ เป็นวิธีการที่ง่าย ต้นทุนต่ำ แต่เปอร์เซนต์การฟักออกเป็นตัวจะต่ำ
2. การเก็บรักษาไข่อาร์ทีเมียโดยการบรรจุกระป๋องระบบสูญญากาศ เป็นวิธีการที่ใช้ต้นทุนการผลิตค่อนข้างสูง ยุ่งยาก แต่ผลผลิตที่ได้มีคุณภาพดี เก็บรักษาได้นาน และมีเปอร์เซนต์การฟักค่อนข้างดี
ข้อควรคำนึงในการเพาะฟักไข่อาร์ทีเมีย
1. ในการเพาะฟักไข่อาร์ทีเมีย ควรใช้ถังรูปทรงกระบอก ก้นถังเป็นลักษณะรูปกรวย ข้างถังควรทาสีทึบแสง ก้นถังใส เพื่อความสะดวกในการเก็บเกี่ยว
2. อาร์ทีเมียที่จะนำไปใช้ในการอนุบาลสัตว์น้ำวัยอ่อนควรเป็นอาร์ทีเมียที่ เพิ่งฟัก (Instar I) เพราะตัวอ่อนในระยะนี้จะเป็นช่วงที่มีไข่แดงเก็บสะสม และจัดว่ามีคุณค่าทางอาหารมากกว่าตัวอ่อนที่มีอายุหลายวัน (Instar II หรือ III) ตัวอ่อนในระยะ Instar I จะมีอายุเพียง 6-10 ชั่วโมง หลังจากฟักเป็นตัวแล้วเท่านั้น จึงจำเป็นต้องรู้ระยะเวลาในการฟักไข่เพื่อจะได้ทราบว่าเวลาใดควรจะเก็บ เกี่ยวเพื่อให้ได้ระยะตัวอ่อน Instar I มากที่สุด
3. ก่อนแยกเปลือกไข่ ควรจะใส่ยาหรือสารเคมีบางชนิดเพื่อเป็นการฆ่าเชื้อโรคและปรสิตในถังเพาะฟัก ก่อน เช่น ใส่น้ำยาฟอร์มาลิน ความเข้มข้น 50-100 ส่วนในพัน (0.05-0.10 ซีซี ต่อน้ำ 1 ลิตร) ทิ้งไว้ 3-12 ชั่วโมง จึงทำการแยกเปลือกไข่ออก

จัดทำโฮมเพจโดย : สำนักบริการคอมพิวเตอร์, 9 กุมภาพันธ์ 2547