การจัดการดินเพื่อการผลิตถั่วเหลืองฝักสด

แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (SB205 S7 ก272 2536)

ผ่านทางagdb1.

ผู้ แต่ง: ชลูด ธารัตถพันธุ์
ชื่อ เรื่อง: การจัดการดินเพื่อการผลิตถั่วเหลืองฝักสด
ชื่อ เอกสาร : เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตรการใช้ เทคโนโลยีเพื่อการผลิตถั่วเหลืองฝักสด วันที่ 16-19 สิงหาคม 2536 ณ ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่
หน่วย งานจัดพิมพ์: กรมวิชาการเกษตร สถาบันวิจัยพืชไร่ ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่ ฝ่ายฝึกอบรม
สถาน ที่พิมพ์: เชียงใหม่
ปี พิมพ์: 2536
หน้า: หน้า 17-45
จำนวน หน้า: 202 หน้า
ภาษา: ไทย
แหล่ง ติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (SB205 S7 ก272 2536)
หมวด หลัก: F04-Fertilizing
หมวด รอง: P35-Soil fertility
หมวด รอง: F08-Cropping patterns and systems
ดรรชนี-ไทย: ถั่วเหลืองฝักสด, ปุ๋ย, การจัดการดิน, คุณสมบัติของดิน, ธาตุอาหารในดิน, การใช้ปุ๋ย, ชนิด, อัตราปุ๋ย, ผลผลิต, ระบบการปลูกพืช
หมาย เลข: 056201 TAB437851 สั่งสำเนา เอกสาร
ค้น ข้อมูลใกล้เคียง: ผู้ แต่งคนเดียวกัน

ไรโซเบียมถั่วเหลืองฝักสด

แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (SB205 S7 ก272 2536)

ผ่านทางagdb1.

ผู้ แต่ง: เธียรชัย อารยางกูร
ชื่อ เรื่อง: ไรโซเบียมถั่วเหลืองฝักสด
ชื่อ เอกสาร : เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตรการใช้ เทคโนโลยีเพื่อการผลิตถั่วเหลืองฝักสด วันที่ 16-19 สิงหาคม 2536 ณ ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่
หน่วย งานจัดพิมพ์: กรมวิชาการเกษตร สถาบันวิจัยพืชไร่ ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่ ฝ่ายฝึกอบรม
สถาน ที่พิมพ์: เชียงใหม่
ปี พิมพ์: 2536
หน้า: หน้า 46-56
จำนวน หน้า: 202 หน้า
ภาษา: ไทย
แหล่ง ติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (SB205 S7 ก272 2536)
หมวด หลัก: P34-Soil biology
หมวด รอง: F04-Fertilizing
ดรรชนี-ไทย: ถั่วเหลืองฝักสด, ไรโซเบียม, พืชตระกูลถั่ว, ไนโตรเจน, ปุ๋ยไนโตรเจน, ปุ๋ยฟอสเฟต, ปุ๋ยอินทรีย์, การผลิต, ประสิทธิภาพ, การตรึงไนโตรเจน, น้ำหนักปม, ผลผลิต
หมาย เลข: 056202 TAB437852 สั่งสำเนา เอกสาร
ค้น ข้อมูลใกล้เคียง: ผู้ แต่งคนเดียวกัน

อิทธิพลของพันธุ์และปุ๋ยไนโตรเจนต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของถั่วเหลือง ที่ปลูกในสภาพดินอิ่มตัวด้วยน้ำ

แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF LB2328.2 ห15 2538-2540)

ผ่านทางagdb1.

ผู้แต่ง: อภิพรรณ พุกภักดี
ชื่อ เรื่อง: อิทธิพลของพันธุ์และปุ๋ยไนโตรเจนต่อการเจริญ เติบโตและผลผลิตของถั่วเหลืองที่ปลูกในสภาพดินอิ่มตัวด้วยน้ำ
Article title: Effects of genotype and nitrogen fertilizer on growth and yield of soybean when planted under saturated soil culture
ชื่อ เอกสาร : หนังสือรวมบทคัดย่อ ผลงานวิจัยของคณาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาไทยในระหว่างปี 2538-2540
Source title : Research abstracts conducted by University’s Lecturers in Thailand during 1995-1997
หน่วย งานจัดพิมพ์: สำนักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย สำนักมาตรฐานอุดมศึกษา
สถาน ที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปี พิมพ์: 2541
หน้า: หน้า 287-288
จำนวน หน้า: 654 หน้า
ภาษา: ไทย อังกฤษ
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย, อังกฤษ)
แหล่ง ติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF LB2328.2 ห15 2538-2540)
หมวด หลัก: F04-Fertilizing
หมวด รอง: F30-Plant genetics and breeding
อร รถาภิธาน-อังกฤษ: GLYCINE MAX; ORYZA SATIVA; NITROGEN FERTILIZERS; VARIETIES; GROWTH; YIELDS; CROPPING SYSTEMS; SOIL WATER CONTENT; NITROGEN FIXATION; YIELDS
ดรรชนี-ไทย: ถั่วเหลือง, ข้าว, ปุ๋ยไนโตรเจน, ดิน, พันธุ์, การเจริญเติบโต, ดินอิ่มตัวด้วยน้ำ, การตรึงไนโตรเจน, การปลูกพืชร่วม, ผลผลิต
บท คัดย่อ: การศึกษาเกี่ยวกับอิทธิพลของพันธุ์และอัตราปุ๋ย ไนโตรเจนต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตของถั่วเหลืองที่ปลูกในสภาพดินอิ่มตัวด้วยน้ำประกอบด้วยการทดลอง ทั้งสิ้น 2 การทดลอง คือการทดลองในต้นฤดูฝน พ.ศ.2536 และฤดูแล้ง พ.ศ.2537 วางแผนการทดลองแบบ split-split-plot design มี 3 ซ้ำ main plots ได้แก่การปลูกถั่วเหลืองร่วมกับข้าวและการปลูกถั่วเหลืองเดี่ยว sub plots ประกอบด้วยพันธุ์ถั่วเหลือง 2 พันธุ์ คือ พันธุ์เชียงใหม่ 60 และพันธุ์ Leichhardt และ sub-sub-plot ประกอบด้วยอัตราปุ๋ยไนโตรเจน 4 อัตรา คือ 0, 31.2, 62.5 และ 125.0 กก.N ต่อเฮกตาร์ ผลการทดลองพบว่า การปลูกถั่วเหลืองเดี่ยวให้ผลผลิตถั่วเหลืองสูงกว่าการปลูกถั่วเหลืองร่วม กับข้าวในสภาพดินอิ่มตัวด้วยน้ำทั้งในฤดูแล้งและในฤดูฝนพันธุ์ถั่วเหลืองที่ ปลูกในสภาพดังกล่าวพบว่าถั่วเหลืองพันธุ์ Leichhardt ให้ผลผลิตสูงกว่าพันธุ์เชียงใหม่ 60 ในฤดูฝน ส่วนในฤดูแล้งทั้งสองพันธุ์ไม่แสดงความแตกต่างกัน ในการศึกษาครั้งนี้ไม่พบความแตกต่างของผลผลิตอันเกิดจากอัตราปุ๋ยไนโตรเจน ที่ให้จำนวนฝักต่อต้นและน้ำหนักแห้งรวมของถั่วเหลืองแสดงผลเป็นไปในทำนอง เดียวกับผลผลิต การตรึงไนโตรเจนของถั่วเหลืองในสภาพดินอิ่มตัวด้วยน้ำพบว่าถั่วเหลืองสามารถ ตรึงไนโตรเจนได้สูงทั้งในฤดูฝนและฤดูแล้ง การตรึงไนโตรเจนที่สูงของถั่วเหลืองในสภาพนี้ อาจเป็นสาเหตุที่ไม่มีการตอบสนองต่อปุ๋ยไนโตรเจนอัตราต่างๆ ที่ให้ถั่วเหลืองพันธุ์ Leichhardt มีการตรึงไนโตรเจนสูงกว่าพันธุ์เชียงใหม่ 60
หมาย เลข: 057706 TAB439356 สั่งสำเนา เอกสาร
ค้น ข้อมูลใกล้เคียง: มี คำสำคัญเหมือนกัน ผู้ แต่งคนเดียวกัน

ผลของการใช้เชื้อไรโซเบียมและปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของถั่วเหลือง พันธุ์ สจ.5

แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (S405 ก27 2542 ล. 2)

ผ่านทางagdb1.

ผู้แต่ง: วานิช อำภาวรรณ
ชื่อ เรื่อง: ผลของการใช้เชื้อไรโซเบียมและปุ๋ยต่อการเจริญ เติบโตและผลผลิตของถั่วเหลืองพันธุ์ สจ.5
Article title: Effects of rhizobium and fertilizer application on growth and yield of soybean cv. SJ.5
ชื่อ เอกสาร : เอกสารการประชุมสัมมนาทางวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 16: เล่ม 2 สาขาเกษตรศาสตร์
Source title : 16th of Rajamangala Institute of Technology Seminar: Vol. 2 Agricultural Science
หน่วย งานจัดพิมพ์: สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล สถาบันวิจัยและพัฒนา
สถาน ที่พิมพ์: ขอนแก่น
ปี พิมพ์: 2542
หน้า: หน้า 523-525
จำนวน หน้า: 558 หน้า
ภาษา: ไทย
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย, อังกฤษ)
แหล่ง ติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (S405 ก27 2542 ล. 2)
หมวด หลัก: F04-Fertilizing
หมวด รอง: P34-Soil biology
อร รถาภิธาน-อังกฤษ: GLYCINE MAX; NPK FERTILIZERS; LIMING MATERIALS; RHIZOBIUM; YIELDS
ดรรชนี-ไทย: ถั่วเหลือง, ปุ๋ย NPK, ปูนขาว, ไรโซเบียม, ผลผลิต, พันธุ์ สจ.5
บท คัดย่อ: การทดลองทรีตเมนต์ที่ 1 (T1) ใส่ปูนขาวอัตรา 100 กก./ไร่ ใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัส และโพแตสเซียม อัตรา 9 และ 6 กก./ไร่ ในรูปของ P2O5 และ K2O ตามลำดับ, ทรีตเมนต์ที่ 2 (T2) คลุกเมล็ดด้วยเชื้อไรโซเบียม ใส่ปูนขาวอัตรา 100 กก./ไร่ ใส่ปุ๋ยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแตสเซียม ในอัตรา 3, 9 และ 6 กก./ไร่ ในรูปของ N, P2O5 และ K2O ตามลำดับ, ทรีตเมนต์ที่ 3 (T3) คลุกเมล็ดด้วยเชื้อไรโซเบียม ร่วมกับหินฟอสเฟตอัตรา 100 กก./ไร่, ทรีตเมนต์ที่ 4 (T4) คลุกเมล็ดด้วยเชื้อไรโซเบียม ใส่ปูนขาวอัตรา 100 กก./ไร่ ใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 อัตรา 40 กก./ไร่, ทรีตเมนต์ที่ 5 (T5) คลุกเมล็ดด้วยเชื้อไรโซเบียมเพียงอย่างเดียวไม่ใส่ปัจจัยอื่นและทรีตเมนต์ ที่ 6 (T6) ชุดควบคุมไม่ใส่ปัจจัยการผลิต ผลการทดลองพบว่าการสะสมน้ำหนักแห้งของส่วนเหนือดินของทุกทรีตเมนต์ตลอดระยะ การเจริญเติบโตใกล้เคียงกัน มีบางระยะเท่านั้นที่แตกต่างกันทางสถิติ และ T4 มีแนวโน้มพัฒนาดีกว่าทรีตเมนต์อื่นๆ ความสูงของลำต้นทุกทรีตเมนต์ไม่แตกต่างกันทางสถิติ ส่วนจำนวนข้อและจำนวนกิ่งต่อต้นทุกทรีตเมนต์ไม่แตกต่างกันทางสถิติ การสร้างปมพบว่าทรีตเมนต์ที่คลุกเมล็ดด้วยเชื้อไรโซเบียมร่วมกับปุ๋ย (T2, T3, T4) ให้จำนวนปมที่สูงกว่าทรีตเมนต์ที่ไม่คลุกเมล็ดด้วยเชื้อ ไรโซเบียม (T1, T6) หรือคลุกเมล็ดด้วยเชื้อไรโซเบียมแต่ไม่ใส่ปัจจัยอื่น (T5) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนน้ำหนักปมทุกทรีตเมนต์ ยกเว้นชุดควบคุมไม่แตกต่างกันทางสถิติ ผลทางด้านองค์ประกอบของผลผลิต จำนวนต้นต่อตารางเมตร ทุกทรีตเมนต์เท่ากัน จำนวนเมล็ดต่อตารางเมตร จำนวนฝักต่อต้น พบว่า T4 สูงกว่าทุกทรีตเมนต์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทรีตเมนต์อื่นๆ ไม่แตกต่างกันทางสถติ ส่วนจำนวนฝักต่อตารางเมตร จำนวนเมล็ดต่อฝัก น้ำหนัก 100 เมล็ด และดัชนีการเก็บเกี่ยวทุกทรีตเมนต์ไม่แตกต่างกันทางสถิติ แต่ T4 มีแนวโน้มพัฒนามากกว่าทรีตเมนต์อื่นๆ ด้านผลผลิตพบว่า T4 ให้ผลผลิต 547.20 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งสูงกว่าทุกทรีตเมนต์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วน T1, T3, T2, T6 และ T5 ให้ผลผลิตไม่แตกต่างกันทางสถิติคือ 443.80, 425.60, 425.00, 422.20 และ 363.60 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ
หมาย เลข: 058579 TAB440683 สั่งสำเนา เอกสาร
ค้น ข้อมูลใกล้เคียง: มี คำสำคัญเหมือนกัน ผู้ แต่งคนเดียวกัน

ผลของการเขตกรรมต่อระบบพืชข้าว-ถั่วเหลือง

แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (S405 ก27 2538 ล.1)

ผ่านทางagdb1.

ผู้แต่ง: พรพิบูลย์ ธัมพิบูลย์
ชื่อ เรื่อง: ผลของการเขตกรรมต่อระบบพืชข้าว-ถั่วเหลือง
Article title: Effects of cultural practices on rice-soybean system
ชื่อ เอกสาร : รายงานการประชุมสัมมนาทางวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 12
Source title : Proceedings of the 12th Rajamangala Institute of Technology seminar
หน่วย งานจัดพิมพ์: สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สถาน ที่พิมพ์: นครราชสีมา
ปี พิมพ์: 2538
หน้า: หน้า 28-39
จำนวน หน้า: 292 หน้า
ภาษา: ไทย
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย, อังกฤษ)
แหล่ง ติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (S405 ก27 2538 ล.1)
หมวด หลัก: F07-Soil cultivation
หมวด รอง: F08-Cropping patterns and systems
หมวด รอง: F04-Fertilizing
อร รถาภิธาน-อังกฤษ: ORYZA SATIVA; GLYCINE MAX; AZOLLA; ZERO TILLAGE; CROP RESIDUES; YIELDS; SOIL CHEMISTRY
ดรรชนี-ไทย: ข้าว, ถั่วเหลือง, แหนแดง, ปุ๋ยอินทรีย์, การเขตกรรม, เศษซากพืช, ผลผลิต, คุณสมบัติของดิน
บท คัดย่อ: การศึกษาถึงผลกระทบของการเขตกรรมแบบต่างๆ ร่วมกับการใช้แหนแดง และการจัดการเศษซากพืช ต่อผลผลิตข้าวและถั่วเหลือง และผลระยะยาวต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านความอุดมสมบูรณ์ของดิน ได้ทำการทดลองเป็นเวลา 3 ปี ในระบบข้าว-ถั่วเหลืองในดินชุดโคราชที่สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง พบว่าการไถพรวนวิธีต่างๆ ไม่มีผลให้ผลผลิตข้าวและถั่วเหลืองแตกต่างกัน การใช้แหนแดงและการจัดการเศษซากพืชสามารถเพิ่มผลผลิตข้าวได้แต่ไม่ส่งผลถึง ผลผลิตถั่วเหลือง การเผาฟางมีผลให้ pH ของดิน 0-5 ซม. สูงขึ้นในระยะสั้น ปริมาณอินทรีย์วัตถุและไนโตรเจนทั้งหมดในดิน 0-5 ซม. ในระบบทำนาแบบไม่ไถพรวนสูงกว่าการเขตกรรมแบบอื่น และการไม่ไถพรวนร่วมกับการใช้แหนแดงและการใส่เศษซากพืชกลับคืน ทำให้มีปริมาณอินทรีย์วัตถุเพิ่มสูงที่สุดและชัดเจนหลังจากมีการจัดการต่อ เนื่อง 2 ปี
หมาย เลข: 058820 TAB440839 สั่งสำเนา เอกสาร
ค้น ข้อมูลใกล้เคียง: มี คำสำคัญเหมือนกัน ผู้ แต่งคนเดียวกัน

การตอบสนองของผลผลิตถั่วเหลืองต่อการใช้โมลิบดินั่ม

แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (S405 ก27 2541 ล.1)

ผ่านทางagdb1.

ผู้ แต่ง: พรพิบูลย์ ธัมพิบูลย์
ชื่อ เรื่อง: การตอบสนองของผลผลิตถั่วเหลืองต่อการใช้โมลิบดิ นั่ม
Article title: Response of soybean yield to molybdenum application
ชื่อ เอกสาร : เอกสารการประชุมสัมมนาทางวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 15: เล่มที่ 1 สาขาพืชศาสตร์
Source title : Proceedings of the 15th Rajamangala Institute of Technology annual conference: V.1 Plant Science
หน่วย งานจัดพิมพ์: สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล สถาบันวิจัยและพัฒนา
สถาน ที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปี พิมพ์: 2541
หน้า: หน้า 245-251
จำนวน หน้า: 338 หน้า
ภาษา: ไทย
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย, อังกฤษ)
แหล่ง ติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (S405 ก27 2541 ล.1)
หมวด หลัก: F04-Fertilizing
หมวด รอง: F61-Plant physiology – Nutrition
อร รถาภิธาน-อังกฤษ: GLYCINE MAX; NPK FERTILIZERS; MOLYBDENUM; NUTRIENT UPTAKE; YIELDS; SOIL TYPES
ดรรชนี-ไทย: ถั่วเหลือง, ปุ๋ยไนโตรเจน, โมลิบดินัม, ชุดดิน, การดูดใช้ธาตุอาหาร, ผลผลิต, ชุดดินร้อยเอ็ด
บท คัดย่อ: เพื่อศึกษาถึงผลของโมลิบดินั่ม ต่อการจำกัดการให้ผลผลิตของถั่วเหลือง ในดินชุดแม่สาย (Ms) และดินชุดร้อยเอ็ด (Re) ได้ทำการทดลองในกระถาง โดยใช้ถั่วเหลืองพันธุ์ราชมงคล 1 แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ 4 ซ้ำ 6 ทรีตเมนท์ คือ ใส่เฉพาะ ปุ๋ยธาตุอาหารหลัก (ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปตัสเซียม) ใส่ปุ๋ยธาตุอาหารหลักและธาตุอาหารเสริม ใส่ปุ๋ยธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารเสริม และโมลิบดินั่มอัตรา 160 320 และ 480 กรัม/ไร่ และทรีตเมนท์ใส่ปุ๋ยธาตุอาหารหลักและโมลิบดินั่มอัตรา 160 กรัม/ไร่ ผลการทดลอง พบว่า ในดินชุดร้อยเอ็ดถั่วเหลือง สามารถเพิ่มผลผลิตขึ้นได้ตามอัตราการใส่โมลิบดินั่ม และการใส่โมลิบดินั่มเพิ่มการดูดใช้ไนโตรเจนในเมล็ดถั่วเหลือง ส่วนในดินชุดแม่สาย ถั่วเหลืองไม่ตอบสนองต่อการใส่โมลิบดินั่ม
หมาย เลข: 058878 TAB440897 สั่งสำเนา เอกสาร
ค้น ข้อมูลใกล้เคียง: มี คำสำคัญเหมือนกัน ผู้ แต่งคนเดียวกัน

อิทธิพลของปุ๋ยไนโตรเจนที่มีต่อการเจริญเติบโต ผลผลิตและการตรึงไนโตรเจนของถั่วเหลือง

แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (SB205 S7 ก276 2539)

ผ่านทางagdb1.

ผู้ แต่ง: เฉลิมพล แซมเพชร; Chaloemphon Saemphet; มนกฤตย์ บุญยฤทธิ์
ชื่อ เรื่อง: อิทธิพลของปุ๋ยไนโตรเจนที่มีต่อการเจริญเติบโต ผลผลิตและการตรึงไนโตรเจนของถั่วเหลือง
Article title: Effect of nitrogen fertilizer on growth, yield and nitrogen fixation of soybean
ชื่อ เอกสาร : รายงานการประชุมวิชาการถั่วเหลืองแห่งชาติ ครั้งที่ 6
Source title : Proceedings of 6th National Soybean research conference
หน่วย งานจัดพิมพ์: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สถาน ที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปี พิมพ์: 2539
หน้า: หน้า 185-195
จำนวน หน้า: 341 หน้า
ภาษา: ไทย
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย)
แหล่ง ติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (SB205 S7 ก276 2539)
หมวด หลัก: F04-Fertilizing
หมวด รอง: P34-Soil biology
อร รถาภิธาน-อังกฤษ: GLYCINE MAX; NITROGEN FERTILIZERS; GROWTH; YIELDS; VARIETIES; NITROGEN FIXATION
ดรรชนี-ไทย: ถั่วเหลือง, ปุ๋ยไนโตรเจน, การเจริบเติบโต, ผลผลิต, พันธุ์, การตรึงไนโตรเจน
บท คัดย่อ: การศึกษาการเจริญเติบโต ผลผลิต และการตรึงไนโตรเจนของถั่วเหลือง 4 พันธุ์ คือ สจ.5 สท.1 ชม.60 และ มช-001 เมื่อมีการใส่ปุ๋ยไนโตรเจน 2 ระดับ คือ 0 และ 8 กก.N/ไร่ ได้ดำเนินการที่คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในระหว่างฤดูฝน (มิ.ย.-ต.ค.) วางแผนการทดลองแบบ Split plot โดยมีปุ๋ยไนโตรเจนเป็น main plot และพันธุ์ถั่วเหลืองเป็น sub plot ผลการทดลองพบว่าการใส่ปุ๋ย N มีผลทำให้การเจริญเติบโตของถั่วเหลืองทั้ง 4 พันธุ์ในรูปของการสะสมน้ำหนักแห้ง ดัชนีพื้นที่ใบ และการสะสมไนโตรเจนในลำต้น และใบเพิ่มขึ้น ในระหว่างการเจริญเติบโตแตกต่างกัน เช่นเดียวกันกับผลผลิตที่ไม่ได้เพิ่มขึ้นจากกรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยไนโตรเจน ส่วนอิทธิพลของปุ๋ยไนโตรเจนที่มีต่อการตรึงไนโตรเจนนั้นปรากฎว่า ปุ๋ยไนโตรเจนมีผลทำให้น้ำหนักแห้งและปม ของถั่วเหลืองทุกพันธุ์ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ และผลการวิเคราะห์ปริมาณของยูริไอด์สัมพัทธ์ (percent relative ureide) ซึ่งเป็นดัชนีที่บ่งบอกถึงกิจกรรมการตรึงไนโตรเจน ก็พบว่าลดลงอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเปรียบเทียบกับต้นถั่วเหลืองที่ไม่มีการใส่ปุ๋ยไนโตรเจนถั่วเหลืองแต่ ละพันธุ์ตรึงไนโตรเจนได้ต่างกันคือ ชม.60 ตรึงไนโตรเจนได้สูงสุด 19.9 กก./ไร่ ส่วนพันธุ์ สท.1 สจ.5 และ มช-001 ตรึงได้ 18.7, 14.5 และ 12.7 กก./ไร่ ตามลำดับ แต่เมื่อทำการใส่ปุ๋ยไนโตรเจนมีผลทำให้การตรึงไนโตรเจนลดลง 26-46 เปอร์เซ็นต์ โดยพันธุ์ มช-001 ลดลงมากที่สุด รองลงมาได้แก่พันธุ์ สจ.5 37 เปอร์เซ็นต์ ส่วนอีก 2 พันธุ์อยู่ในระดับใกล้เคียงกันคือ 26-27 เปอร์เซ็นต์ ผลการวิเคราะห์ปริมาณไนโตรเจนในใบที่ร่วงหล่น (senscence) และในเมล็ด (ผลผลิต) ทั้งหมด รวมทั้งการคำนวณค่าความสมดุลของไนโตรเจนภายหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ รายงานไว้ในการทดลองนี้
หมาย เลข: 058997 TAB441016 สั่งสำเนา เอกสาร
ค้น ข้อมูลใกล้เคียง: มี คำสำคัญเหมือนกัน ผู้ แต่งคนเดียวกัน

แนวทางการปรับปรุงดิน และการใช้ปุ๋ยสำหรับถั่วเหลืองและถั่วลิสง

แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (S633.5 T35 ก278 2542)

ผ่านทางagdb1.

ผู้แต่ง: สุวพันธ์ รัตนะรัต
ชื่อ เรื่อง: แนวทางการปรับปรุงดิน และการใช้ปุ๋ยสำหรับถั่วเหลืองและถั่วลิสง
ชื่อ เอกสาร : รายงานการประชุมสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง การจัดการดินไร่และการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชไร่
หน่วย งานจัดพิมพ์: กรมวิชาการเกษตร กองปฐพีวิทยา
สถาน ที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปี พิมพ์: 2542
หน้า: หน้า 55-79
จำนวน หน้า: 236 หน้า
ภาษา: ไทย
แหล่ง ติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (S633.5 T35 ก278 2542)
หมวด หลัก: F04-Fertilizing
หมวด รอง: F01-Crop husbandry
หมวด รอง: F61-Plant physiology – Nutrition
ดรรชนี-ไทย: ถั่วเหลือง, ถั่วลิสง, ดิน, ปุ๋ย, พื้นที่ปลูก, การใส่ปุ๋ย, ผลผลิต, ความอุดมสมบูรณ์ของดิน, การใช้ธาตุอาหาร
หมาย เลข: 059902 TAB441921 สั่งสำเนา เอกสาร
ค้น ข้อมูลใกล้เคียง: ผู้ แต่งคนเดียวกัน

สถานะความอุดมสมบูรณ์ของดินและการใช้ปุ๋ยถั่วเหลืองในเขตภาคเหนือตอนบน

แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (S633.5 T35 ก278 2542)

ผ่านทางagdb1.

ผู้ แต่ง: พงศ์พันธุ์ จึงอยู่สุข
ชื่อ เรื่อง: สถานะความอุดมสมบูรณ์ของดินและการใช้ปุ๋ยถั่ว เหลืองในเขตภาคเหนือตอนบน
ชื่อ เอกสาร : รายงานการประชุมสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง การจัดการดินไร่และการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชไร่
หน่วย งานจัดพิมพ์: กรมวิชาการเกษตร กองปฐพีวิทยา
สถาน ที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปี พิมพ์: 2542
หน้า: หน้า 80-89
จำนวน หน้า: 236 หน้า
ภาษา: ไทย
แหล่ง ติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (S633.5 T35 ก278 2542)
หมวด หลัก: F04-Fertilizing
หมวด รอง: P35-Soil fertility
ดรรชนี-ไทย: ถั่วเหลือง, ดิน, ปุ๋ย, ความอุดมสมบูรณ์ของดิน, การใส่ปุ๋ย, ผลผลิต
หมาย เลข: 059903 TAB441922 สั่งสำเนา เอกสาร
ค้น ข้อมูลใกล้เคียง: ผู้ แต่งคนเดียวกัน

การปรับปรุงดินทรายที่เสื่อมโทรมเพื่อผลิตพืชไร่

แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (S633.5 T35 ก278 2542)

ผ่านทางagdb1.

ผู้แต่ง: ศรีสุดา ทิพยรักษ์; ชัยโรจน์ วงศ์วิวัฒน์ไชย
ชื่อ เรื่อง: การปรับปรุงดินทรายที่เสื่อมโทรมเพื่อผลิตพืช ไร่
ชื่อ เอกสาร : รายงานการประชุมสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง การจัดการดินไร่และการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชไร่
หน่วย งานจัดพิมพ์: กรมวิชาการเกษตร กองปฐพีวิทยา
สถาน ที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปี พิมพ์: 2542
หน้า: หน้า 135-143
จำนวน หน้า: 236 หน้า
ภาษา: ไทย
แหล่ง ติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (S633.5 T35 ก278 2542)
หมวด หลัก: F04-Fertilizing
หมวด รอง: F08-Cropping patterns and systems
หมวด รอง: P33-Soil chemistry and physics
ดรรชนี-ไทย: ดินทราย, ถั่วเหลือง, ปอแก้ว, ปุ๋ย, ถั่วลิสง, ปูนขาว, หินหอสเฟต, ชุดดิน, ระบบการปลูกพืช, การปรับปรุงดิน, ผลผลิต
หมาย เลข: 059908 TAB441927 สั่งสำเนา เอกสาร
ค้น ข้อมูลใกล้เคียง: ผู้ แต่งคนเดียวกัน