Hydro-acoustic equipments for application fishery resource survey in coastal area

ศาสตร์เกษตรดินปุ๋ย-ขอบคุณแหล่งข้อมูล : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=013710&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=EFMON

Authors: Miyamoto Yoshinori; Toyoki Sasakura; Yuttana Theparoonrat; Yap Minlee; Monton Anongponyoskun; KritsadaThongsila
Article title: Hydro-acoustic equipments for application fishery resource survey in coastal area
Source title: Proceedings of 52nd Kasetsart University Annual Conference: Fisheries, Agricultural Extension and Home Economics
Corp.authors: Kasetsart University, Bangkok (Thailand); Commission of Higher Education, Bangkok (Thailand); Ministry of Education, Bangkok (Thailand); Ministry of Agriculture and Cooperatives, Bangkok (Thailand); Ministry of Science and Technology, Bangkok (Thailand); Ministry of Natural Resources and Environment, Bangkok (Thailand); Ministry of Information and Communication Technology, Bangkok (Thailand); National Research Council of Thailand, Bangkok (Thailand); The Thailand Research Fund, Bangkok (Thailand)
Conference: 52. Kasetsart University Annual Conference
Conf.place: Bangkok (Thailand)
Conf.date: 4-7 Feb 2014
Publ.place: Bangkok (Thailand)
Publ.date: 2014
Page: p. 364-369
Collation: 487 p.
Languages: En
Summary: Summary (En)
Notes: 6 ill., 1 table
ISBN/IPC: ISBN 978-616-278-142-1
Availability: Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand. สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์
Prim.subj.categ.: N20-Agricultural machinery and equipment
Sec.subj.categ.: M01-Fisheries and aquaculture – General aspects
En-Control Descriptor: Fishery resources; Surveying; Fishing gear; Equipment characteristics; Computer software; Equipment parts; Equipment performance; Global positioning systems; Echosounding; Coastal area
Th-Control Descriptor: ทรัพยากรประมง; การสำรวจ; เครื่องมือทำการประมง; คุณลักษณะของเครื่องมือ; คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์; ชิ้นส่วนเครื่องมือ; สมรรถนะเครื่องมือ; ระบบหาพิกัดบนพื้นโลก; การวัดเสียงสะท้อน; พื้นที่ชายฝั่ง
Descriptors : ทรัพยากรประมง; การสำรวจ; เครื่องมือ Hydro-acoustic; เครื่องมือการประมง; ลักษณะเครื่องมือ; ฮาร์ดแวร์; ซอร์ฟแวร์; ส่วนประกอบ; สมรรถภาพการทำงาน; พื้นที่ชายฝั่ง
Abstract: Hydro-acoustic equipment was applied for fishery resource survey in coastal areas. The hardware and software systems for data collection were developed at Tokyo University of Marine Science and Technology, Japan. This equipment was conducted by using FURUNO GPS Plotter model GP-1670F. It is equipped with Global Positioning System (GPS) receiver and chart plotter system. It is also equipped with echo-sounder with operated on 50 kHz and 200 kHz simultaneously. The testing of hydro-acoustic equipments and systems for coastal areas were conducted at Tateyama Bay, Chiba Prefectures, Japan in October 2012 and at Rayong Bay, Rayong province, Thailand in March and October 2013. The GPS Plotter operation could be display the boat position, cruising track, speed and direction, and echogram for 50 and 200 kHz simultaneously. The returned echo signal of 50 kHz imported to hydro-acoustic data collection system was amplified, filled, display and recorded on a personal computer (PC). The recorded data from Rayong bay survey, it was found that the pulse of transmission line from transducer face to 2.9 m depth (76 data). This data have to be deleted from calculation since there are strong noise down to 2.9 m below sea surface. It means that the surface layer of 2.9 m below sea surface and 1 m above bottom have to be deleted from the estimated fishery resources. In case of the shallow area with water depth around 9 m, the rest of water column for calculating had only 5.1 m. The limited volume or depth of water would be affected to estimation of the fishery resources calculation. Then, the software should be amplified and improved the limited depth for sharp quantity and quality of data.
MFN: 013710 KC5204044สั่งสำเนาเอกสาร
FullText: Full text (pdf) or Full text (html)

04 p51

การศึกษาความดกของไข่ปลาบู่หมาจู Brachygobius doriae (Gunther, 1868)

ศาสตร์เกษตรดินปุ๋ย-ขอบคุณแหล่งข้อมูล : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=013709&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: จิรวัฒน์ ผลเพิ่มพูล; เรืองวิชญ์ ยุ้นพันธ์; สันติ พ่วงเจริญ
ชื่อเรื่อง: การศึกษาความดกของไข่ปลาบู่หมาจู Brachygobius doriae (Gunther, 1868)
Article title: The study on fecundity of bumblebee goby Brachygobius doriae (Gunther, 1868)
ชื่อเอกสาร : เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52: สาขาประมง, สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์
Source title : Proceedings of 52nd Kasetsart University Annual Conference: Fisheries, Agricultural Extension and Home Economics
หน่วยงานจัดพิมพ์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา; กระทรวงศึกษาธิการ; กระทรวงเกษตรและสหกรณ์; กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี; กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม; กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร; สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ; สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
ชื่อการประชุม: การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52
สถานที่ประชุม: กรุงเทพฯ
วันที่ประชุม: 4-7 ก.พ. 2557
สถานที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปีพิมพ์: 2557
หน้า: หน้า 359-363
จำนวนหน้า: 487 หน้า
ภาษา: ไทย
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย, อังกฤษ)
หมวดหลัก: L10-Animal genetics and breeding
หมวดรอง: L53-Animal physiology – Reproduction
หมวดรอง: M12-Aquaculture production
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: GOBIIDAE; ORNAMENTAL FISHES; BREEDING STOCK; ANIMAL BREEDING; FISH CULTURE; FEEDS; FISH FEEDING; FERTILITY; SEX RATIO; GROWTH
อรรถาภิธาน-ไทย: GOBIIDAE; ปลาสวยงาม; พ่อแม่พันธุ์สัตว์; การปรับปรุงพันธุ์สัตว์; การเพาะเลี้ยงปลา; อาหารสัตว์; การให้อาหารปลา; ความสมบูรณ์พันธุ์; อัตราส่วนทางเพศ; การเติบโต
ดรรชนี-อังกฤษ: BRACHYGOBIUS DORIAE; BUMBLEBEE GOBY; BREEDING; FECUNDITY; SEX RATIO; FEEDS; WEIGHT; LENGTH
ดรรชนี-ไทย: ปลาบู่หมาจู; ปลาสวยงาม; พ่อแม่พันธุ์; การเพาะพันธุ์; การเลี้ยงปลา; อาหารปลา; การให้อาหาร; ความดกของไข่; อัตราส่วนเพศ; การเจริญเติบโต
บทคัดย่อ: การทดลองเพาะปลาบู่หมาจู พ่อแม่พันธุ์ที่ใช้ได้จากการรวบรวมในธรรมชาติและตลาดปลาสวยงาม นำมาพักเลี้ยงไว้จนสมบูรณ์เป็นระยะเวลา 120 วัน เริ่มการทดลองโดยวางแผนการทดลองแบบแฟคทอเรีย อัตราส่วนปล่อยเพศเมียต่อเพศผู้ 1:1, 1:2 และ 1:3 ให้ไส้เดือนน้ำจืด หนอนแดง และอาหารสำเร็จรูปโปรตีนไม่น้อยกว่า 47 เปอร์เซ็นต์ แต่ละชุดการทดลองวันละครั้ง ทำการเลี้ยงเป็นระยะเวลา 90 วัน จดบันทึกจำนวนไข่เฉลี่ยอัตราการฟัก วัดขนาดความยาวและน้ำหนักของปลาเมื่อสิ้นสุดการทดลอง ผลการทดลองพบว่าปลาอัตราส่วนปล่อยเพศเมียต่อเพศผู้ 1:3, 1:2 และ 1:1 ให้จำนวนไข่เฉลี่ยทั้งหมด 204.29, 106.75 และ 37.67 อัตราการฟักเฉลี่ย 197.00, 104.00 และ 36.00 ตามลำดับ อาหารที่ให้ผลต่อจำนวนไข่เฉลี่ยทั้งหมดคือ หนอนแดง, ไส้เดือนน้ำจืด และอาหารสำเร็จรูป 199.50, 154.00 และ 0.00 ตามลำดับ โดยมีอิทธิพลร่วมระหว่างอาหาร อัตราส่วนเพศ น้ำหนักและความยาวเฉลี่ยทั้งหมดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติยิ่ง (P น้อยกว่า 0.01)
หมายเลข: 013709 KC5204043
เอกสารฉบับเต็ม: [Download Fulltext]
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: มีคำสำคัญเหมือนกัน   ผู้แต่งคนเดียวกัน

 

ผลการเสริมกรดไขมันที่จำเป็นให้โรติเฟอร์และอาร์ทีเมียต่ออัตรารอดตายและการเจริญเติบโตของลูกปลาตะกรับ Scatophagus argus Linnaeus, 1766

ศาสตร์เกษตรดินปุ๋ย-ขอบคุณแหล่งข้อมูล : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=013708&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: จิระยุทธ รื่นศิริกุล; มาวิทย์ อัศวอารีย์; สิราวรรณ บุญชัย
ชื่อเรื่อง: ผลการเสริมกรดไขมันที่จำเป็นให้โรติเฟอร์และอาร์ทีเมียต่ออัตรารอดตายและการเจริญเติบโตของลูกปลาตะกรับ Scatophagus argus Linnaeus, 1766
Article title: Effect of essential fatty acid enrichment to rotifer and artemia on survival rate and growth of spotted scat (Scatophagus argus Linnaeus, 1766) larvae
ชื่อเอกสาร : เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52: สาขาประมง, สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์
Source title : Proceedings of 52nd Kasetsart University Annual Conference: Fisheries, Agricultural Extension and Home Economics
หน่วยงานจัดพิมพ์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา; กระทรวงศึกษาธิการ; กระทรวงเกษตรและสหกรณ์; กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี; กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม; กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร; สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ; สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
ชื่อการประชุม: การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52
สถานที่ประชุม: กรุงเทพฯ
วันที่ประชุม: 4-7 ก.พ. 2557
สถานที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปีพิมพ์: 2557
หน้า: หน้า 351-358
จำนวนหน้า: 487 หน้า
ภาษา: ไทย
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย, อังกฤษ)
หมวดหลัก: M12-Aquaculture production
หมวดรอง: Q55-Feed additives
หมวดรอง: L52-Animal physiology – Growth and development
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: SCATOPHAGUS ARGUS; FISH LARVAE; ROTIFERA; ARTEMIA; FEEDS; ESSENTIAL FATTY ACIDS; SUPPLEMENTS; FISH FEEDING; SURVIVAL; GROWTH
อรรถาภิธาน-ไทย: SCATOPHAGUS ARGUS; ลูกปลา; ROTIFERA; ARTEMIA; อาหารสัตว์; กรดไขมันที่จำเป็น; สารเสริม; การให้อาหารปลา; การอยู่รอด; การเติบโต
ดรรชนี-อังกฤษ: SCATOPHAGUS ARGUS; SPOTTED SCAT; LARVAE; FEEDS; ESSENTIAL FATTY ACID; ROTIFER; ARTEMIA; ENRICHMENT; SURVIVAL RATE; GROWTH
ดรรชนี-ไทย: ปลาตะกรับ; ลูกปลาตะกรับ; โรติเฟอร์; อาร์ทีเมีย; อาหารปลา; กรดไขมันที่จำเป็น; การเสริม; การให้อาหาร; อัตรารอดตาย; การเจริญเติบโต
บทคัดย่อ: ศึกษาผลการเสริมกรดไขมันที่จำเป็นให้โรติเฟอร์และอาร์ทีเมียต่ออัตรารอดตายและการเจริญเติบโตของลูกปลาตะกรับที่ได้จากการเพาะพันธุ์ การทดลองมี 2 ส่วน คือ การทดลองที่ 1 ศึกษาในลูกปลาอายุ 1-15 วัน ให้กินโรติเฟอร์ที่เสริมกรดไขมันสำเร็จรูป 0.25 กรัม/ลิตร เปรียบเทียบกับที่ไม่เสริมกรดไขมัน การทดลองที่ 2 ศึกษาในลูกปลาอายุ 16-35 วัน ให้กินอาร์ทีเมียที่เสริมกรดไขมันสำเร็จรูป 0.6 กรัม/ลิตร เปรียบเทียบกับที่ไม่เสริมกรดไขมัน พบว่าอัตรารอดตาย ความยาวและความกว้างของลูกปลาที่ให้โรติเฟอร์เสริมกรดไขมันสูงกว่าที่ไม่เสริมกรดไขมันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P น้อยกว่า 0.05) และอัตรารอดตายของลูกปลาที่ให้อาร์ทีเมียเสริมกรดไขมันสูงกว่าที่ไม่เสริมกรดไขมันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P น้อยกว่า 0.05) ในขณะที่ความยาวและความกว้างขอ ลูกปลาไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P มากกว่า 0.05) ดังนั้นการอนุบาลลูกปลาตะกรับควรเสริมกรดไขมันที่จำเป็นในอาหารมีชีวิตเพื่อเพิ่มอัตรารอดตายหรือการเจริญเติบโตให้สูงขึ้น
หมายเลข: 013708 KC5204042
เอกสารฉบับเต็ม: [Download Fulltext]
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: มีคำสำคัญเหมือนกัน   ผู้แต่งคนเดียวกัน

 

ผลของน้ำมันหืนในอาหารปลานิลต่อระบบภูมิคุ้มกันและการหืนในเนื้อปลา

ศาสตร์เกษตรดินปุ๋ย-ขอบคุณแหล่งข้อมูล : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=013707&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: นริศรา สุรทิพย์; อรพินท์ จินตสถาพร; ศรีน้อย ชุ่มคำ
ชื่อเรื่อง: ผลของน้ำมันหืนในอาหารปลานิลต่อระบบภูมิคุ้มกันและการหืนในเนื้อปลา
Article title: Effect of oxidized lipid in tilapia (Oreochromis niloticus) diets on immune system and lipid oxidation of fillet
ชื่อเอกสาร : เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52: สาขาประมง, สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์
Source title : Proceedings of 52nd Kasetsart University Annual Conference: Fisheries, Agricultural Extension and Home Economics
หน่วยงานจัดพิมพ์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา; กระทรวงศึกษาธิการ; กระทรวงเกษตรและสหกรณ์; กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี; กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม; กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร; สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ; สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
ชื่อการประชุม: การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52
สถานที่ประชุม: กรุงเทพฯ
วันที่ประชุม: 4-7 ก.พ. 2557
สถานที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปีพิมพ์: 2557
หน้า: หน้า 343-350
จำนวนหน้า: 487 หน้า
ภาษา: ไทย
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย, อังกฤษ)
หมวดหลัก: M12-Aquaculture production
หมวดรอง: Q55-Feed additives
หมวดรอง: L73-Animal diseases
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: OREOCHROMIS NILOTICUS; FEEDS; LIPIDS; FISH OILS; COATING; INGREDIENTS; FISH CULTURE; FISH FEEDING; IMMUNITY; OXIDATION; FISH
อรรถาภิธาน-ไทย: OREOCHROMIS NILOTICUS; อาหารสัตว์; ลิปิด; น้ำมันปลา; การเคลือบ; ส่วนผสม; การเพาะเลี้ยงปลา; การให้อาหารปลา; ภูมิคุ้มกัน; ปฏิกิริยาออกซิเดชัน; ปลา (ผลิตภัณฑ์)
ดรรชนี-อังกฤษ: TILAPIA; OREOCHROMIS NILOTICUS; DIETS; OXIDIZED LIPID; OXIDIZED FISH OILS; IMMUNE SYSTEM; LIPID OXIDATION; FILLET
ดรรชนี-ไทย: ปลานิล; อาหารปลา; น้ำมันหืน; การเคลือบ; สูตรอาหาร; การเลี้ยงปลา; การให้อาหาร; ระบบภูมิคุ้มกัน; ความหืนในเนื้อปลา
บทคัดย่อ: การใช้น้ำมันหืนในอาหารปลานิล (Oreochromis niloticus) ต่อระบบภูมิคุ้มกัน วางแผนการศึกษาแบบ CRD ประกอบด้วย 2 ชุดการทดลอง การทดลองละ 6 ซ้ำ ชุดการทดลองที่ 1 เป็นอาหารที่เคลือบด้วยน้ำมันปลาที่ไม่หืน และชุดการทดลองที่ 2 เป็นอาหารที่เคลือบด้วยน้ำมันปลาที่หืน โดยเหนี่ยวนำการหืนด้วยการนำน้ำมันไป ต้มด้วยความร้อน 90 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 15 นาที ทำการทดลองในปลานิลน้ำหนักเฉลี่ย 102.30 กรัม เลี้ยงในตู้กระจก อัตราการปล่อย 10 ตัวต่อตู้ ให้อาหารทดลอง 3 เปอร์เซ็นต์ ของน้ำหนักตัว เก็บข้อมูลทุก 3 วัน เป็นระยะเวลา 15 วัน เมื่อสิ้นสุดการทดลองพบว่า ค่าความหืนของน้ำมันปลาและอาหารทดลองทั้งสองสูตรมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P น้อยกว่า 0.05 ) โดยน้ำมันปลาและอาหารทดลองที่เคลือบน้ำมันที่หืนมีค่า TBA, Peroxide value, Acid value สูงว่า น้ำมันปลาและอาหารที่เคลือบน้ำมันที่ไม่หืน ซึ่งค่าความหืนในอาหารมีผลระบบภูมิคุ้มกันของปลานิลลดลง (P น้อยกว่า 0.05) ได้แก่ ฮีโมโกลบิน และฮีมาโตคริต และมีแนวโม้มว่าการได้รับน้ำมันหืนเป็นเวลานานค่าโปรตีนในเลือดจะลดลง (P=0.098) นอกจากนี้เนื้อปลานิลที่ได้รับอาหารที่เคลือบด้วยน้ำมันหืนมีค่า TBA สูงกว่าอย่างมีนัยสำคัญ (P น้อยกว่า 0.05) ดังนั้น การใช้น้ำมันหืนในอาหารปลามีแนวโน้มให้ระบบภูมิคุ้มกันปลานิลลดลงและค่าความหืนในเนื้อปลาสูงขึ้น
หมายเลข: 013707 KC5204041
เอกสารฉบับเต็ม: [Download Fulltext]
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: มีคำสำคัญเหมือนกัน   ผู้แต่งคนเดียวกัน

 

ผลของเหล็กต่อการเจริญเติบโต ปริมาณไขมันและชนิดกรดไขมันในสาหร่ายสีเขียวขนาดเล็ก Botryococcus braunii

ศาสตร์เกษตรดินปุ๋ย-ขอบคุณแหล่งข้อมูล : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=013706&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: ปิยมาภรณ์ เวียนรอบทิศ; สุนีรัตน์ เรืองสมบูรณ์
ชื่อเรื่อง: ผลของเหล็กต่อการเจริญเติบโต ปริมาณไขมันและชนิดกรดไขมันในสาหร่ายสีเขียวขนาดเล็ก Botryococcus braunii
Article title: Effect of iron concentrations on the growth, lipid content and fatty acids composition of green microalga, Botryococcus braunii
ชื่อเอกสาร : เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52: สาขาประมง, สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์
Source title : Proceedings of 52nd Kasetsart University Annual Conference: Fisheries, Agricultural Extension and Home Economics
หน่วยงานจัดพิมพ์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา; กระทรวงศึกษาธิการ; กระทรวงเกษตรและสหกรณ์; กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี; กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม; กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร; สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ; สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
ชื่อการประชุม: การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52
สถานที่ประชุม: กรุงเทพฯ
วันที่ประชุม: 4-7 ก.พ. 2557
สถานที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปีพิมพ์: 2557
หน้า: หน้า 334-342
จำนวนหน้า: 487 หน้า
ภาษา: ไทย
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย, อังกฤษ)
หมวดหลัก: M12-Aquaculture production
หมวดรอง: F62-Plant physiology – Growth and development
หมวดรอง: F60-Plant physiology and biochemistry
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: BOTRYOCOCCUS BRAUNII; ALGAE; SEAWEED CULTURE; CELL CULTURE; CULTURE TECHNIQUES; CULTURE MEDIA; IRON; GROWTH; BIOMASS; LIPID CONTENT; FATTY ACIDS; LABORATORY EXPERIMENTATION
อรรถาภิธาน-ไทย: BOTRYOCOCCUS BRAUNII; สาหร่าย; การเพาะเลี้ยงสาหร่ายทะเล; การเพาะเลี้ยงเซลล์; เทคนิคการเพาะเลี้ยง; อาหารเพาะเลี้ยง; เหล็ก; การเติบโต; มวลชีวภาพ; ปริมาณไขมัน; กรดไขมัน; การทดลองในห้องปฏิบัติการ
ดรรชนี-อังกฤษ: GREEN MICROALGA; BOTRYOCOCCUS BRAUNII; CULTURE TECHNIQUE; CHLORELLA MEDIUM; IRON CONCENTRATIONS; GROWTH; LIPID CONTEN; FATTY ACIDS COMPOSITION
ดรรชนี-ไทย: สาหร่ายสีเขียวขนาดเล็ก; การเพาะเลี้ยงสาหร่าย; อาหารเพาะเลี้ยง; เหล็ก; การเจริญเติบโต; มวลชีวภาพ; ปริมาณไขมัน; กรดไขมัน; การทดสอบในห้องปฏิบัติการ
บทคัดย่อ: การศึกษาผลของเหล็กต่อการเจริญเติบโต ปริมาณไขมันและชนิดกรดไขมันในสาหร่ายสีเขียวขนาดเล็ก Botryococcus braunii ที่เลี้ยงในอาหาร chlorella medium ที่ระดับความเข้มข้นเหล็กแตกต่างกัน 5 ระดับคือ 0.025, 0.05 (ชุดควบคุม), 0.075, 0.1 และ 0.125 กรัมต่อลิตร ทำการเลี้ยงเป็นเวลา 30 วันในระดับห้องปฏิบัติการ พบว่าอัตราการเจริญเติบโตจำเพาะ มวลชีวภาพ ไขมัน และผลผลิตไขมันมีปริมาณสูงสุดคือ 0.050 ต่อวัน, 4.49 กรัมน้ำหนักแห้งต่อลิตร, 0.79 กรัมต่อลิตร และ 8.90 มิลลิกรัมต่อลิตรต่อวัน ซึ่งพบในสาหร่ายที่เลี้ยงในอาหารที่มีเหล็ก 0.125 กรัมต่อลิตร โดยมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับชุดควบคุม ในขณะปริมาณไขมันมีปริมาณสูงสุดคือ 19.71 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งพบในอาหารที่มีเหล็ก 0.025 กรัมต่อลิตร ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับชุดการทดลองที่มีเหล็ก 0.05-0.125 กรัมต่อลิตร องค์ประกอบกรดไขมันที่มีมากใน B. braunii ได้แก่ palmitic acid (C16:0) โดยมีปริมาณสูงสุดคือ 64.07 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งพบในอาหารที่มีเหล็ก 0.125 กรัมต่อลิตร
หมายเลข: 013706 KC5204040
เอกสารฉบับเต็ม: [Download Fulltext]
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: มีคำสำคัญเหมือนกัน   ผู้แต่งคนเดียวกัน

 

สารสกัดจากสาหร่ายทะเลที่ออกฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่น

ศาสตร์เกษตรดินปุ๋ย-ขอบคุณแหล่งข้อมูล : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=013705&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: พันธุ์ทิพย์ วิเศษพงษ์พันธ์; พลชา จิตรมิตรสัมพันธ์; ชัชรี แก้วสุรลิขิต; อรรถวุฒิ กันทะวงศ์
ชื่อเรื่อง: สารสกัดจากสาหร่ายทะเลที่ออกฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่น
Article title: The antioxidative activity of extracts from seaweeds
ชื่อเอกสาร : เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52: สาขาประมง, สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์
Source title : Proceedings of 52nd Kasetsart University Annual Conference: Fisheries, Agricultural Extension and Home Economics
หน่วยงานจัดพิมพ์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา; กระทรวงศึกษาธิการ; กระทรวงเกษตรและสหกรณ์; กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี; กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม; กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร; สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ; สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
ชื่อการประชุม: การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52
สถานที่ประชุม: กรุงเทพฯ
วันที่ประชุม: 4-7 ก.พ. 2557
สถานที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปีพิมพ์: 2557
หน้า: หน้า 326-333
จำนวนหน้า: 487 หน้า
ภาษา: ไทย
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย, อังกฤษ)
หมวดหลัก: F60-Plant physiology and biochemistry
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: SEAWEEDS; PLANT EXTRACTS; SPECIES; ANTIOXIDANTS; PHENOLIC CONTENT; CHLOROPHYCEAE; PHAEOPHYCEAE; RHODOPHYCEAE
อรรถาภิธาน-ไทย: สาหร่ายทะเล; สารสกัดจากพืช; ชนิด; สารยับยั้งการรวมตัวของออกซิเจน; ปริมาณสารฟีนอลิค; CHLOROPHYCEAE; PHAEOPHYCEAE; RHODOPHYCEAE
ดรรชนี-อังกฤษ: SEAWEEDS; EXTRACTS; ANTIOXIDATIVE ACTIVITY; SPECIES; REDUCING POWER
ดรรชนี-ไทย: สาหร่ายทะเล; สาหร่ายสีเขียว; สาหร่ายสีน้ำตาล; สาหร่ายสีแดง; สารสกัด; ชนิด; ฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่น; สารต้านอนุมูลอิสระ; ปริมาณฟีนอล
บทคัดย่อ: การศึกษาการออกฤทธิ์ต้านปฏิกิริยาออกซิเดชั่นของสารสกัดจากสาหร่ายทะเลเพื่อพัฒนาเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ พบว่าสารสกัดจากสาหร่าย 16 ชนิด ได้แก่ สาหร่ายสีเขียว 6 ชนิด สาหร่ายสีน้ำตาล 5 ชนิด และสาหร่ายสีแดง 5 ชนิด ออกฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่นโดยมีค่า Reducing power และ Total antioxidant แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p น้อยกว่า 0.05) โดยมีค่า Reducing power และ Total antioxidant อยู่ระหว่าง 5.89+-3.50-73.13+-2.56 และ 30.37+-0.51-348.07+-12.51 มิลลิกรัมสมมูลกับกรดแอสคอร์บิคต่อกรัมของสารสกัด (mgAAE/g extract) และมีปริมาณฟีนอลระหว่าง 0.03+-0.02-104.35+-1.94 มิลลิกรัมสมมูลกับกรด แกลลิคต่อกรัมของสารสกัด (mgGAE/g extract) โดยสาหร่ายสีน้ำตาล Lobophora variegata ออกฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่นโดยมีค่า Reducing power สูงเท่ากับ 73.13+-2.56 mgAAE/g extract และสาหร่ายสีน้ำตาล Dictyota cervicornis ออกฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่นโดยมีค่า Total antioxidant สูงเท่ากับ 348.07+-12.51 mgAAE/g extract สาหร่ายสีน้ำตาล L. variegata ยังมีปริมาณฟีนอลสูงสุดคือ 104.35+-1.94 mgGAE/g extract และพบว่าสารสกัดจากสาหร่ายสีน้ำตาลมีการออกฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่นทั้ง 2 วิธีได้สูงกว่าสาหร่ายสีเขียวและสีแดง นอกจากนั้นยังพบว่าปริมาณฟีนอลในสาหร่ายสีน้ำตาลมีความสัมพันธ์กับการต้านออกซิเดชั่นด้วยการหาค่า Reducing power ในขณะที่ปริมาณฟีนอลในสาหร่ายสีเขียวมีความสัมพันธ์กับการต้านออกซิเดชั่นด้วยการหาค่า Total antioxidant อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = 0.948 และ 0.892)
หมายเลข: 013705 KC5204039
เอกสารฉบับเต็ม: [Download Fulltext]
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: มีคำสำคัญเหมือนกัน   ผู้แต่งคนเดียวกัน

 

การศึกษากิจกรรมเอนไซม์โปรติเอส อะไมเลส เซลลูเลส และไลเปสในระบบทางเดินอาหารของปลากะพงขาว (Lates calcarifer)

ศาสตร์เกษตรดินปุ๋ย-ขอบคุณแหล่งข้อมูล : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=013704&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: เจษฎา ธีรศรัณยานนท์; อรพินท์ จินตสถาพร; ศรีน้อย ชุ่มคำ
ชื่อเรื่อง: การศึกษากิจกรรมเอนไซม์โปรติเอส อะไมเลส เซลลูเลส และไลเปสในระบบทางเดินอาหารของปลากะพงขาว (Lates calcarifer)
Article title: Study on protease, amylase, cellulase and lipase enzyme activity in sea bass (Lates calcarifer)
ชื่อเอกสาร : เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52: สาขาประมง, สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์
Source title : Proceedings of 52nd Kasetsart University Annual Conference: Fisheries, Agricultural Extension and Home Economics
หน่วยงานจัดพิมพ์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา; กระทรวงศึกษาธิการ; กระทรวงเกษตรและสหกรณ์; กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี; กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม; กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร; สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ; สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
ชื่อการประชุม: การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52
สถานที่ประชุม: กรุงเทพฯ
วันที่ประชุม: 4-7 ก.พ. 2557
สถานที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปีพิมพ์: 2557
หน้า: หน้า 318-325
จำนวนหน้า: 487 หน้า
ภาษา: ไทย
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย, อังกฤษ)
หมวดหลัก: L50-Animal physiology and biochemistry
หมวดรอง: L51-Animal physiology – Nutrition
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: LATES CALCARIFER; PROTEASES; CELLULASE; ESTERASES; ENZYME ACTIVITY; DIGESTIVE SYSTEM; LIPIDS; PROTEINS
อรรถาภิธาน-ไทย: LATES CALCARIFER; โปรตีเอส; เซลลูเลส; เอสเทอเรส; กิจกรรมของเอนไซม์; ระบบย่อยอาหาร; ลิปิด; โปรตีน
ดรรชนี-อังกฤษ: SEA BASS; LATES CALCARIFER; PROTEASE; AMYLASE; CELLULASE; LIPASE; ENZYME ACTIVITY
ดรรชนี-ไทย: ปลากะพงขาว; โปรติเอส; อะไมเลส; เซลลูเลส; ไลเปส; กิจกรรมเอนไซม์; ระบบทางเดินอาหาร; ไขมัน; โปรตีน
บทคัดย่อ: การศึกษากิจกรรมของเอนไซม์ในระบบทางเดินอาหารของปลากะพงขาว (Lates calcarifer) ทำการ ศึกษากิจกรรมของเอนไซม์โปรติเอส อะไมเลส เซลลูเลส และไลเปสในปลากะพงขาวน้ำหนัก 23.0+-0.15 กรัม โดยเปรียบเทียบความแตกต่างของระดับกิจกรรมเอนไซม์ที่สกัดจากใน ตับ กระเพาะ ไส้ติ่ง (cecum) และลำไส้ ที่ pH 2-12 พบว่า กิจกรรมของเอนไซม์โปรติเอสใน ตับ กระเพาะ ไส้ติ่ง และลำไส้ มีค่าสูงที่ pH 7-12, 2, 6-12, และ 7-12 ตามลำดับ สำหรับกิจกรรมของเอนไซม์อะไมเลส มีค่าสูงที่ pH 4-8, 3-6, 3-6, และ 3-5 ตามลำดับ กิจกรรมของเอนไซม์เซลลูเลสมีค่าสูงที่ระดับ pH 2 และ 6-12 ในส่วนของตับ ในกระเพาะมีค่าสูงที่ pH 6-9 และ 11 ในไส้ติ่ง มีค่าสูงที่ pH 2 และ 7-9 ในลำไส้มีค่าสูงที่ pH 2, 7 และ 9-12 และ ค่ากิจกรรมเอนไซม์กิจกรรมของเอนไซม์ไลเปส ในตับมีค่าสูงที่ระดับ pH 9-12, ในกระเพาะมีค่าสูงที่ pH 6 และ 8-12 ในไส้ติ่ง มีค่าสูงที่ pH 2, 6 และ 9-12 ในลำไส้มีค่าสูงที่ pH 9 และ 11 ปลากะพงขาวจะย่อยสารอาหารกลุ่มโปรตีนได้ดีในกระเพาะที่ pH 2 ซึ่งเป็นกรดมาก และในลำไส้จะย่อยได้ดีที่ pH เป็นกลางถึงเบส ส่วนสารอาหารกลุ่มคาร์โบไฮเดรตและเยื่อใย จะย่อยได้ดีที่ pH 3-5 ซึ่งเป็นกรดไม่มาก และที่ pH 6-9 ซึ่งเป็นเบส ส่วนสารอาหารกลุ่มไขมันจะย่อยได้ดีทั้งในช่วง pH ที่เป็นกรด และเบส ซึ่งค่ากิจกรรมเอนไซม์ไลเปส โปรติเอส จะมีค่าสูงกว่าเอนไซม์อะไมเลสและ เซลลูเลส แสดงให้เห็นว่าปลากะพงขาวสามารถย่อยและใช้สารอาหารประเภทไขมันละโปรตีนได้ดี
หมายเลข: 013704 KC5204038
เอกสารฉบับเต็ม: [Download Fulltext]
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: มีคำสำคัญเหมือนกัน   ผู้แต่งคนเดียวกัน

 

การจำแนกชนิดปลา 14 ชนิดในบึงบอระเพ็ดโดยใช้ดีเอ็นเอบาร์โค้ด

ศาสตร์เกษตรดินปุ๋ย-ขอบคุณแหล่งข้อมูล : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=013703&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: ดุจฤดี ปานพรหมมินทร์; สาธิต พุทธวงค์
ชื่อเรื่อง: การจำแนกชนิดปลา 14 ชนิดในบึงบอระเพ็ดโดยใช้ดีเอ็นเอบาร์โค้ด
Article title: Identification of 14 fish species in Bueng Boraphet using DNA barcodes
ชื่อเอกสาร : เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52: สาขาประมง, สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์
Source title : Proceedings of 52nd Kasetsart University Annual Conference: Fisheries, Agricultural Extension and Home Economics
หน่วยงานจัดพิมพ์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา; กระทรวงศึกษาธิการ; กระทรวงเกษตรและสหกรณ์; กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี; กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม; กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร; สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ; สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
ชื่อการประชุม: การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52
สถานที่ประชุม: กรุงเทพฯ
วันที่ประชุม: 4-7 ก.พ. 2557
สถานที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปีพิมพ์: 2557
หน้า: หน้า 310-317
จำนวนหน้า: 487 หน้า
ภาษา: ไทย
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย, อังกฤษ)
หมวดหลัก: L60-Animal taxonomy and geography
หมวดรอง: L10-Animal genetics and breeding
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: FISHES; SPECIES; IDENTIFICATION; DNA; CYTOCHROME C OXIDASE; NUCLEOTIDE SEQUENCE; THAILAND
อรรถาภิธาน-ไทย: ปลา; ชนิด; การจัดจำแนก; ดีเอ็นเอ; ไซโตโครม ซี ออกซิเดส; การเรียงตัวของนิวคลีโอไทด์; ประเทศไทย
ดรรชนี-อังกฤษ: FISH; SPECIES; IDENTIFICATION; DNA BARCODES; CYTOCHROME C OXIDASE I
ดรรชนี-ไทย: ปลา; การจำแนกชนิด; ดีเอ็นเอบาร์โค้ด; ยีน COI; ลำดับนิวคลีโอไทด์; บึงบอระเพ็ด; จ.นครสวรรค์
บทคัดย่อ: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ดีเอ็นเอบาร์โค้ดในการจำแนกชนิดปลาในบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ โดยรวบรวมตัวอย่างปลา ในเดือนตุลาคม พ.ศ.2554 ได้จำนวน 14 ชนิด 52 ตัวอย่าง ซึ่งเมื่อนำไปเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอส่วนของยีน COI พบว่าสามารถเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอได้ในปลาทุกตัวอย่าง โดยมีขนาดประมาณ 650 คู่เบส เมื่อเปรียบเทียบความคล้ายคลึงของลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีน COI กับสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในฐานข้อมูล พบว่า มีปลาจำนวน 4 และ 2 ชนิด ที่ยังไม่มีรายงานในฐานข้อมูล GenBank และ BOLD ตามลำดับ และเมื่อนำลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีน COI จากปลาแต่ละชนิดมาศึกษาความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการ โดยการสร้าง Phylogenetic tree พบว่า ลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีน COI สามารถจำแนกปลาออกเป็น 5 กลุ่มใหญ่ๆ คือ ปลาในอันดับ Perciformes Cypriniformes Siluriformes Osteoglossiformes และ Synbranchiformes สอดคล้องกับระบบอนุกรมวิธานของปลา ซึ่งข้อมูลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ถูกรวบรวมไว้เป็นฐานข้อมูลดีเอ็นเอบาร์โค้ดของปลาในประเทศไทยต่อไป
หมายเลข: 013703 KC5204037
เอกสารฉบับเต็ม: [Download Fulltext]
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: มีคำสำคัญเหมือนกัน   ผู้แต่งคนเดียวกัน

 

การประยุกต์ใช้การสำรวจจากระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการติดตามวัชพืชลอยน้ำในบริเวณหนองหาร จังหวัดสกลนคร

ศาสตร์เกษตรดินปุ๋ย-ขอบคุณแหล่งข้อมูล : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=013702&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: ราชิต เพ็งสีแสง; เมธี แก้วเนิน
ชื่อเรื่อง: การประยุกต์ใช้การสำรวจจากระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการติดตามวัชพืชลอยน้ำในบริเวณหนองหาร จังหวัดสกลนคร
Article title: Application of remote sensing and geographic information system on monitoring of floating weed in Nonghan, Sakon Nakhon province
ชื่อเอกสาร : เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52: สาขาประมง, สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์
Source title : Proceedings of 52nd Kasetsart University Annual Conference: Fisheries, Agricultural Extension and Home Economics
หน่วยงานจัดพิมพ์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา; กระทรวงศึกษาธิการ; กระทรวงเกษตรและสหกรณ์; กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี; กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม; กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร; สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ; สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
ชื่อการประชุม: การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52
สถานที่ประชุม: กรุงเทพฯ
วันที่ประชุม: 4-7 ก.พ. 2557
สถานที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปีพิมพ์: 2557
หน้า: หน้า 300-309
จำนวนหน้า: 487 หน้า
ภาษา: ไทย
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย, อังกฤษ)
หมวดหลัก: H60-Weeds and weed control
หมวดรอง: U40-Surveying methods
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: AQUATIC WEEDS; REMOTE SENSING; GEOGRAPHICAL INFORMATION SYSTEMS; MONITORING; SPATIAL DISTRIBUTION; INFORMATION MANAGEMENT; THAILAND
อรรถาภิธาน-ไทย: วัชพืชน้ำ; การสำรวจข้อมูลระยะไกล; ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์; การติดตามผล; การกระจายทางด้านพื้นที่; การจัดการข่าวสาร; ประเทศไทย
ดรรชนี-อังกฤษ: FLOATING WEED; REMOTE SENSING; GEOGRAPHIC INFORMATION SYSTEM; MONITORING; NONGHAN; SAKON NAKHON PROVINCE
ดรรชนี-ไทย: วัชพืชลอยน้ำ; สนุ่น; การสำรวจระยะไกล; ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์; แหล่งที่พบ; การติดตามข้อมูลเชิงพื้นที่; ข้อมูลเชิงลักษณะ; การจัดการข้อมูล; หนองหาร; จ.สกลนคร
บทคัดย่อ: ในการศึกษาวัชพืชลอยน้ำหรือสนุ่นในบริเวณหนองหาร จังหวัดสกลนคร โดยนำเทคโนโลยีการสำรวจจากระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มาใช้ ซึ่งดำเนินการเก็บข้อมูลในระหว่างเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2556 ทั้งหมด 4 ครั้ง โดยเก็บทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial data) และข้อมูลเชิงคุณลักษณะ (Attribute data) ครั้งละ 12 สถานี และนำเข้าข้อมูลที่ได้จากการสำรวจภาคสนามโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สร้างและบันทึกข้อมูลคุณลักษณะของสนุ่น ผลการศึกษาพบว่าเทคโนโลยีการสำรวจจากระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เป็นเครื่องมือในการศึกษาวัชพืชลอยน้ำในบริเวณหนองหาร ได้เป็นอย่างดี ผลการศึกษาพบสนุ่นบริเวณตำบลธาตุเชิงชุมในช่วงเดือน พฤศจิกายน-พฤษภาคม (ฤดูหนาว-ฤดูร้อน) และพบสนุ่นบริเวณตำบลท่าแร่ และตำบลเชียงเครือในช่วงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม (ฤดูฝน) ซึ่งในแต่ละเดือนปริมาณพื้นที่ผิวสนุ่นจะไม่คงที่แต่จะมีปริมาณมากในเดือน สิงหาคม พ.ศ. 2556 รวมทั้งหมด 525,422 ตารางเมตร และทิศทางการเคลื่อนที่ของสนุ่นสอดคล้องกับทิศทางการพัดของลมมรสุม และจากการศึกษาพบว่าในหนึ่งรอบปีสนุ่นสามารถเคลื่อนที่ได้ไกลถึง 7 กิโลเมตร
หมายเลข: 013702 KC5204036
เอกสารฉบับเต็ม: [Download Fulltext]
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: มีคำสำคัญเหมือนกัน   ผู้แต่งคนเดียวกัน

 

การคาดการณ์การเคลื่อนที่ของคราบน้ำมันจากกระแสน้ำเนื่องจากลมด้วย POM กรณีศึกษาเกาะเสม็ด จังหวัดระยอง, 27 กรกฎาคม 2556

ศาสตร์เกษตรดินปุ๋ย-ขอบคุณแหล่งข้อมูล : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=013701&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: มณฑล อนงค์พรยศกุล; จรวย สุขแสงจันทร์; ธัญญานุช อินแตง
ชื่อเรื่อง: การคาดการณ์การเคลื่อนที่ของคราบน้ำมันจากกระแสน้ำเนื่องจากลมด้วย POM กรณีศึกษาเกาะเสม็ด จังหวัดระยอง, 27 กรกฎาคม 2556
Article title: Predicted movement of oil spill by wind driven current from POM in case study Samet island, Rayong province on 27 July, 2013
ชื่อเอกสาร : เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52: สาขาประมง, สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์
Source title : Proceedings of 52nd Kasetsart University Annual Conference: Fisheries, Agricultural Extension and Home Economics
หน่วยงานจัดพิมพ์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา; กระทรวงศึกษาธิการ; กระทรวงเกษตรและสหกรณ์; กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี; กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม; กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร; สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ; สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
ชื่อการประชุม: การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52
สถานที่ประชุม: กรุงเทพฯ
วันที่ประชุม: 4-7 ก.พ. 2557
สถานที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปีพิมพ์: 2557
หน้า: หน้า 295-299
จำนวนหน้า: 487 หน้า
ภาษา: ไทย
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย, อังกฤษ)
หมวดหลัก: P10-Water resources and management
หมวดรอง: P40-Meteorology and climatology
หมวดรอง: U10-Mathematical and statistical methods
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: PETROLEUM; POLLUTION; MOVEMENT; WINDS; VELOCITY; TIDES; WATER CIRCULATION; FORECASTING; MODELS; ISLANDS; THAILAND
อรรถาภิธาน-ไทย: ปิโตรเลียม; มลพิษ; การเคลื่อนที่; ลม; ความเร็ว; น้ำขึ้นน้ำลง; การหมุนเวียนของกระแสน้ำ; การพยากรณ์; แบบจำลอง; หมู่เกาะ; ประเทศไทย
ดรรชนี-อังกฤษ: OIL SPILL; WIND STRESS; WIND DRIVEN CURRENT; MOVEMENT; PREDICTION; PRINCETON OCEAN MODEL; SAMET ISLAND; RAYONG PROVINCE
ดรรชนี-ไทย: คราบน้ำมัน; การเคลื่อนที่; กระแสน้ำทะเล; อัตราเร็วกระแสน้ำ; ลม; ทิศทางลม; การคาดการณ์; แบบจำลอง POM; เกาะเสม็ด; จ.ระยอง
บทคัดย่อ: การเคลื่อนที่ของคราบน้ำมันที่เกิดจากลมบริเวณเกาะเสม็ด จังหวัดระยอง วันที่ 27 กรกฎาคม 2556 เป็นการศึกษารูปแบบกระแสน้ำโดยพิจารณาปัจจัยหลักคือลม แบบจำลองประยุกต์จาก Princeton Ocean Model (POM) 2 มิติ เพื่อคาดการณ์การเคลื่อนที่ของคราบน้ำมันจากกระแสน้ำ การศึกษาประกอบด้วยปัจจัยที่มีผลกระทบที่สำคัญต่อการเคลื่อนที่ของคราบน้ำมัน ได้แก่ ลักษณะลมพัดตามฤดูกาล ที่พัดเข้าหาฝั่งอยู่ในช่วง 5-8 เมตรต่อวินาที ทิศทางลมที่ใช้ในการศึกษาในแบบจำลองเป็นลมมาจากทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ผลของแบบจำลองพบว่าอัตราเร็วกระแสน้ำเฉพาะที่เกิดจากลม ณ บริเวณที่น้ำมันรั่วไหลมีค่าประมาณ 10-20 เซนติเมตรต่อวินาที น้ำเคลื่อนที่ไปทิศตะวันออกได้ไกลวันละประมาณ 8-16 กิโลเมตรซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม RADARSAT 2 สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) ที่รายงานว่าคราบน้ำมันมีการเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือด้วยความเร็วประมาณ 12-20 กิโลเมตรต่อวัน
หมายเลข: 013701 KC5204035
เอกสารฉบับเต็ม: [Download Fulltext]
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: มีคำสำคัญเหมือนกัน   ผู้แต่งคนเดียวกัน