รูปแบบการแพร่กระจายและความหนาแน่นของ Noctiluca scintillans ในอ่าวไทยตอนบน

ศาสตร์เกษตรดินปุ๋ย-ขอบคุณแหล่งข้อมูล : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=006467&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: สมภพ รุ่งสุภา
ชื่อเรื่อง: รูปแบบการแพร่กระจายและความหนาแน่นของ Noctiluca scintillans ในอ่าวไทยตอนบน
Article title: Distribution pattern and density of Noctiluca scintillans around the upper gulf of Thailand
ชื่อเอกสาร : การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 35 สาขาประมง วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม คหกรรมศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ 3-5 กุมภาพันธ์ 2540
Source title : Proceedings of the 35th Kasetsart University Annual Conference: Fisheries, Science, Engineering, Environmental Management, Home Economics, Education and Economics
หน่วยงานจัดพิมพ์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; กระทรวงเกษตรและสหกรณ์; กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม; ทบวงมหาวิทยาลัย
สถานที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปีพิมพ์: 2540
หน้า: หน้า 187-196
จำนวนหน้า: 725 หน้า
ภาษา: ไทย
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย, อังกฤษ)
แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF Q101 ก58 2540)
หมวดหลัก: M40-Aquatic ecology
หมวดรอง: P10-Water resources and management
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: PHYTOPLANKTON, NATURAL DISTRIBUTION, DENSITY, SEASONS, PLANKTON BLOOMS, THAILAND
ดรรชนี-ไทย: แพลงตอนพืช, NOCTILUCA SCINTILLANS, ความหนาแน่น, การแพร่กระจาย, ปรากฏการณ์น้ำเปลี่ยนสี, การสำรวจ, อ่าวไทยตอนบน
บทคัดย่อ: ผลจากการออกภาคสนามตั้งแต่ พ.ศ.2533-2538 รวมทั้งข้อมูลการศึกษา ตั้งแต่ พ.ศ.2525-2530 ที่ได้มีผู้รายงานไว้ และการบินสำรวจและบันทึกบริเวณและขอบเขตของการเกิดปรากฏการณ์น้ำเปลี่ยนสี ระหว่าง พ.ศ. 2537-2538 พบว่าบริเวณที่เกิดปรากฏการณ์น้ำเปลี่ยนสี จาก Noctiluca scintillans บ่อยครั้งที่สุด ได้แก่ บริเวณปากแม่น้ำบางปะกง จนถึงศรีราชา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระหว่างฤดูฝน (พฤษภาคม ถึง ตุลาคม) โดยพบมากที่สุด เท่ากับ 1.47 * 10**(6) เซล/ลบ.เมตร ในขณะที่ความหนาแน่นของ N. scintillans ที่พบในระยะที่ทำให้สัตว์น้ำตาย ในบริเวณอ่าวศรีราชา ในเดือนสิงหาคม พ.ศ.2534 เท่ากับ 0.6792 * 10**(6) เซล/ลบ.เมตร ไม่พบว่าความหนาแน่นของ N. scintillans เพิ่มตามเวลาที่ผ่านไป แต่พบว่าบริเวณที่พบ N. scintillans มากขยายออกไปครอบคลุมบริเวณชายฝั่งตะวันออกทั้งหมด โดยเฉพาะบริเวณที่พบมากที่สุดเคลื่อนลงมาพบบริเวณ ศรีราชา ถึง ใกล้เกาะสีชัง เทียบกับในอดีตที่พบมากบริเวณใกล้ปากแม่น้ำสายหลัก
หมายเลข: 006467 KC3504022
เอกสารฉบับเต็ม: [Download Fulltext]
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: มีคำสำคัญเหมือนกัน   ผู้แต่งคนเดียวกัน

ผลกระทบของน้ำเปลี่ยนสีต่อการประมงชายฝั่ง

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=003195&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: วิทยา หวังเจริญพร; สุวรรณี เฉินบำรุง; สุนีย์ สุวภีพันธ์
ชื่อเรื่อง: ผลกระทบของน้ำเปลี่ยนสีต่อการประมงชายฝั่ง
Article title: Impact of red tide on coastal fisheries
ชื่อเอกสาร : การประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 22 สาขาประมง ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 30 มกราคม – 1 กุมภาพันธ์ 2527
Source title : Proceedings of the 22nd conference : Fisheries Section
หน่วยงานจัดพิมพ์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สถานที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปีพิมพ์: 2527
หน้า: หน้า 203-213
จำนวนหน้า: 420 หน้า
ภาษา: ไทย
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย)
แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SH1 ก58 2527)
หมวดหลัก: T01-Pollution
หมวดรอง: M11-Fisheries production
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: COASTAL FISHERIES, PLANKTON BLOOMS, ALGAE, LOSSES
ดรรชนี-ไทย: ปรากฏการณ์น้ำเปลี่ยนสี, การประมงชายฝั่ง, แพลงค์ตอน, สาหร่าย, ความเสียหาย
หมายเลข: 003195 KC2204023
เอกสารฉบับเต็ม: [Download Fulltext]
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: มีคำสำคัญเหมือนกัน   ผู้แต่งคนเดียวกัน