อายุของเมล็ดต่อการงอกและผลผลิตของถั่วฝักยาว

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=002186&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: สุเทวี ศุขปราการ; สุรนันต์ สุภัทรพันธุ์; คนึงนิจ ธรรมวิจิตร
ชื่อเรื่อง: อายุของเมล็ดต่อการงอกและผลผลิตของถั่วฝักยาว
Article title: Effects of seed maturity on seed germination and yield of yard long bean
ชื่อเอกสาร : การประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 19 สาขาพืช อาคารศูนย์เรียนรวม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 3-5 กุมภาพันธ์ 2524: รวมเรื่องย่อ
หน่วยงานจัดพิมพ์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สถานที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปีพิมพ์: 2524
หน้า: หน้า 8
จำนวนหน้า: 146 หน้า
ภาษา: ไทย
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย)
แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก581 2524)
หมวดหลัก: F03-Seed production and processing
หมวดรอง: F62-Plant physiology – Growth and development
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: VIGNA UNGUICULATA SESQUIPEDALIS, SEED, AGE, GERMINATION, SEEDS, YIELDS
ดรรชนี-ไทย: ถั่วฝักยาว, เมล็ด, อายุ, การออก, ผลผลิต, เมล็ดพันธุ์
หมายเลข: 002186 KC1901005
เอกสารฉบับเต็ม: [Download Fulltext]
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: มีคำสำคัญเหมือนกัน   ผู้แต่งคนเดียวกัน

ขนาดของเมล็ดที่มีผลกระทบต่ออัตราการงอกและผลผลิตของเมล็ดพันธุ์ถั่วฝักยาว

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=002029&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: สุเทวี ศุขปราการ; สุรนันต์ สุภัทรพันธุ์; ชัยฤกษ์ สงวนทรัพยากร; คนึงนิจ ธรรมวิจิตร
ชื่อเรื่อง: ขนาดของเมล็ดที่มีผลกระทบต่ออัตราการงอกและผลผลิตของเมล็ดพันธุ์ถั่วฝักยาว
Article title: Effect of seed size on germination and seed yield of yard long bean. (Vigna sesquipedalis Frew.)
ชื่อเอกสาร : รวมเรื่องย่อการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 18 สาขาพืช ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน 28-30 มกราคม 2523
หน่วยงานจัดพิมพ์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สถานที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปีพิมพ์: 2523
หน้า: หน้า 43
จำนวนหน้า: 114 หน้า
ภาษา: ไทย
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย)
แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก581 2523)
หมวดหลัก: F03-Seed production and processing
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: VIGNA UNGUICULATA SESQUIPEDALIS, SEED, QUALITY, GERMINATION, SEEDS, YIELDS
ดรรชนี-ไทย: ถั่วฝักยาว, เมล็ดพันธุ์, เมล็ด, ขนาดเมล็ด, อัตราการงอก, ผลผลิต
หมายเลข: 002029 KC1801045
เอกสารฉบับเต็ม: [Download Fulltext]
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: มีคำสำคัญเหมือนกัน   ผู้แต่งคนเดียวกัน

ศึกษาการเสื่อมคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลือง

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=001838&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: ธนีนาฏ สมบัติศิริ
ชื่อเรื่อง: ศึกษาการเสื่อมคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลือง
Article title: Studies on deterioration of soybean seeds
ชื่อเอกสาร : การประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 17 สาขาพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน 2522: รวมเรื่องย่อ
หน่วยงานจัดพิมพ์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สถานที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปีพิมพ์: 2522
หน้า: หน้า 32
จำนวนหน้า: 94 หน้า
ภาษา: ไทย
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย)
แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก581 2522)
หมวดหลัก: F03-Seed production and processing
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: GLYCINE MAX, SEED, DETERIORATION, STORAGE, GERMINATION, SEED LONGEVITY
ดรรชนี-ไทย: ถั่วเหลือง, เมล็ดพันธุ์, การเสื่อมคุณภาพ, การเก็บรักษา, ความงอก, ความแข็งแรง, อายุของเมล็ด
หมายเลข: 001838 KC1701032
เอกสารฉบับเต็ม: [Download Fulltext]
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: มีคำสำคัญเหมือนกัน   ผู้แต่งคนเดียวกัน

ใช้’รกหมู’ยืดอายุเมล็ดพันธุ์ข้าว

ใช้’รกหมู’ยืดอายุเมล็ดพันธุ์ข้าว

ใช้’รกหมู’ยืดอายุเมล็ดพันธุ์ข้าว ผลงานเด่นนักวิจัย มทร.ศรีวิชัย

              “จากการเข้าไปคลุกคลีกับเกษตรกรผู้ปลูกข้าวใน จ.นครศรีธรรมราช ทำให้ได้ทราบถึงความเชื่ออย่างหนึ่ง นั่นก็คือ เชื่อว่าการแช่เมล็ดข้าวในน้ำสกัดชีวภาพจากรกหมูจะทำให้เมล็ดมีความงอกสูงขึ้น”

ผศ.มนทนา รุจิระศักดิ์ อาจารย์ประจำสาขาพืชศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย หัวหน้าทีมวิจัยกล่าวถึงอาชีพชาวนาในประเทศไทยนับเป็นคนกลุ่มใหญ่ที่สุด เพราะข้าวเป็นอาหารหลักของคนไทย อาชีพทำนาเป็นอาชีพดั้งเดิมของคนไทยที่สืบทอดมาเป็นเวลายาวนานและสภาพภูมิอากาศก็เอื้อต่อการทำเกษตรกรรม แต่ด้วยสภาพร้อนชื้นตลอดทั้งปีของภาคใต้เป็นสภาวะที่ไม่เหมาะต่อการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าว ทำให้เมล็ดพันธุ์ข้าวเสื่อมคุณภาพลงอย่างรวดเร็ว

หากจำเป็นต้องเก็บรักษาเมล็ดไว้เป็นเวลานานจะทำให้ปัญหาดังกล่าวทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น แต่เกษตรกรผู้ปลูกข้าวยังมีความจำเป็นต้องเก็บเมล็ดไว้ทำพันธุ์ จึงหาวิธีในการทำให้เมล็ดงอกได้สูงขึ้นจนสามารถนำเมล็ดกลับมาทำพันธุ์ได้อีกครั้ง ในขณะที่เกษตรกรผู้ปลูกข้าวบางรายใน จ.นครศรีธรรมราช เชื่อว่าการใช้น้ำสกัดชีวภาพที่หมักจากรกหมูแช่เมล็ดพันธุ์ข้าวก่อนนำไปปลูกจะทำให้เมล็ดพันธุ์ข้าวมีความงอกสูงขึ้นได้

ผศ.มนทนา เปิดเผยต่อว่า หลังจากได้เข้าไปคลุกคลีกับเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในแปลงนาด้วยเป็นนักเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ (Seed Tech) ก็รู้ว่าเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ชาวบ้านนำมาให้ดูเป็นเมล็ดพันธุ์เก่า โดยนำมาแช่ในน้ำสกัดชีวภาพจากรกหมูจะทำให้เมล็ดมีความงอกมากขึ้น ซึ่งขัดกับทฤษฎีที่ได้เรียนมาเมล็ดพันธุ์ที่เสื่อมคุณภาพแล้วไม่สามารถงอกออกมาได้อีกในฐานะนักวิชาการก็เอามาดูก่อนว่ามีคำอธิบายในเชิงวิชาการอย่างไรเพื่อหาเหตุผลทางวิชาการก็เลยมีแนวคิดที่จะทำงานวิจัยชิ้นนี้ออกมาเพื่อยกระดับพันธุ์ข้าว

“เมล็ดพันธุ์ข้าวที่ใช้ในการทดลองมี 2 พันธุ์ ได้แก่พันธุ์ชัยนาทและพันธุ์สังข์หยดพัทลุง ซึ่งมีความแตกต่างกันคือ ข้าวพันธุ์ชัยนาทไม่ไวต่อแสงที่มากระทบ ปลูกเมื่อไหร่ก็ได้ขอให้มีน้ำ ส่วนข้าวพันธุ์สังข์หยดพัทลุง ไวต่อแสงจะออกดอกได้เมื่อเจอแสงในรอบปีจะมีลักษณะแบบนี้ครั้งเดียวและที่สำคัญอีกประการคือข้าวพันธุ์สังข์หยดพัทลุงเป็นพันธุ์ข้าวที่กำลังมาแรงซึ่งเป็นข้าวอินทรีย์ ในอนาคตอาจจะมีพื้นที่ปลูกมากยิ่งขึ้น”

ผศ.มนทนา ระบุอีกว่า การทำวิจัยชิ้นนี้จะช่วยเกษตรกรในเรื่องของเมล็ดพันธุ์เก่าแทนที่จะทิ้ง ถ้าหากเราเอามาใช้ในการทำให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้นก็จะสามารถแก้ปัญหาการขาดแคลนเมล็ดพันธุ์ได้การวิจัยทั้งหมดมีหลายขั้นตอน ซึ่งครั้งแรกนำมาทดลองแบบเกษตรกรทุกประการคือนำเอาเมล็ดพันธุ์ข้าวมาแช่น้ำเปล่าธรรมดาและเอาเมล็ดพันธุ์มาแช่ด้วยน้ำสกัดชีวภาพจากรกหมู ซึ่งก็ดูผลที่ได้ระหว่างนำเมล็ดพันธุ์ข้าวแช่ในน้ำเปล่าธรรมดาและเอามาเมล็ดพันธุ์มาแช่ด้วยน้ำสกัดชีวภาพจากรกหมูมีความแตกต่างกันมากน้อยเพียงใด

“ผลการวิจัยพบว่าน้ำสกัดชีวภาพรกหมูมีผลต่อคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ข้าว โดยวิธีการเตรียมเมล็ดก่อนเพาะทำให้เปอร์เซ็นต์การงอกของเมล็ดพันธุ์ต่างกัน แต่ไม่มีผลต่อดัชนีการงอกของเมล็ดและน้ำหนักของต้นกล้า แต่น้ำสกัดชีวภาพจากรกหมู เพิ่มให้เมล็ดพันธุ์งอกมากกว่า ซึ่งงอกมากถึง 12.62 ต้นต่อวัน ในน้ำธรรมดาเมล็ดพันธุ์งอกเพียง 11.78 ต้นต่อวัน” หัวหน้าทีมวิจัยคนเดิมระบุ

     สำหรับความเป็นไปได้ในเชิงพาณิชย์ในการนำสารละลายน้ำสกัดชีวภาพไปใช้เป็นส่วนประกอบของสารพอกเมล็ดแทนสารเคมีบางชนิดในเมล็ดพอก(pellet seed) ในเมล็ดที่มีมูลค่าสูง หรือเมล็ดพันธุ์อินทรีย์ เพื่อลดต้นทุนการผลิตต่อไป นับเป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน เป็นสิ่งที่กระทำต่อเนื่องกันมาและมีความเป็นไปได้จริง แต่หากนักวิชาการได้เข้าไปช่วยพิสูจน์ในเชิงวิทยาศาสตร์ได้ ก็จะทำให้เกษตรกรเกิดความภาคภูมิใจในวิชาชีพของตนเอง

ศึกษาลักษณะและคุณภาพข้าวหอมพันธุ์พื้นเมือง

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=001645&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: เยาวนุช หงษรานนท์; ทิพวัลย์ สุกุมลนันทน์; หรรษา จักรพันธุ์
ชื่อเรื่อง: ศึกษาลักษณะและคุณภาพข้าวหอมพันธุ์พื้นเมือง
Article title: Characters and properties of local odour rice varieties
ชื่อเอกสาร : การประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 16 สาขาพืช ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน 2521: รวมเรื่องย่อ
หน่วยงานจัดพิมพ์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สถานที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปีพิมพ์: 2521
หน้า: หน้า 12
จำนวนหน้า: 126 หน้า
ภาษา: ไทย
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย)
แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก581 2526)
หมวดหลัก: F30-Plant genetics and breeding
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: RICE, LAND VARIETIES, SEED, CHEMICOPHYSICAL PROPERTIES, AGRONOMIC CHARACTERS, QUALITY
ดรรชนี-ไทย: ข้าวหอม, พันธุ์พื้นเมือง, เมล็ดพันธุ์, คุณสมบัติทางเคมีและกายภาพ, ลักษณะทางเกษตร, คุณภาพ
หมายเลข: 001645 KC1601012
เอกสารฉบับเต็ม: [Download Fulltext]
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: มีคำสำคัญเหมือนกัน   ผู้แต่งคนเดียวกัน

อิทธิพลของระยะเก็บเกี่ยวและการเก็บรักษาที่มีต่อคุณภาพของเมล็ดผักกาดหัว

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=001554&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: พรรณเพ็ญ อมฤตสุทธิ์
ชื่อเรื่อง: อิทธิพลของระยะเก็บเกี่ยวและการเก็บรักษาที่มีต่อคุณภาพของเมล็ดผักกาดหัว
Article title: Effect of fruit maturity and storage on viability of chinese radish seeds
ชื่อเอกสาร : การประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 15 สาขาพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพมหานคร 2519: รวมเรื่องย่อ
หน่วยงานจัดพิมพ์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สถานที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปีพิมพ์: 2519
หน้า: หน้า 61
จำนวนหน้า: 90 แผ่น
ภาษา: ไทย
สาระสังเขป: สาระสังเขป (ไทย)
แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก581 2519)
หมวดหลัก: F03-Seed production and processing
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: RAPHANUS SATIVUS, SEED PRODUCTION, HARVESTING, SEED MOISTURE CONTENT, SEED WEIGHT, SEED STORAGE, TEMPERATURE, GERMINATION, SEEDS
ดรรชนี-ไทย: ผักกาดหัว, เมล็ดพันธุ์, ระยะเก็บเกี่ยว, ความชื้นของเมล็ด, น้ำหนักเมล็ด, การเก็บรักษา, อุณหภูมิ, ความงอก
หมายเลข: 001554 KC1501061
เอกสารฉบับเต็ม: [Download Fulltext]
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: มีคำสำคัญเหมือนกัน   ผู้แต่งคนเดียวกัน

มทร.ศรีวิชัย วิจัย ‘น้ำรกหมู’ ช่วยเพิ่มการงอกเมล็ดพันธุ์ข้าว

http://www.thairath.co.th/content/edu/251601

9 เมษายน 2555, 05:05 น.

Pic_251601

สภาพอากาศร้อนชื้นตลอดทั้งปีของพื้นที่ภาคใต้…เป็นสภาวะที่ไม่เหมาะต่อการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าว เพราะทำให้เสื่อมคุณภาพลงอย่างรวดเร็ว แต่เกษตรกรยังมีความจำเป็นต้องเก็บเมล็ดไว้ทำพันธุ์ ฉะนั้น จึงหาวิธีในการทำให้เมล็ดงอกได้สูงขึ้น จนสามารถนำกลับมาทำการเพาะปลูกได้อีกครั้ง…

…จากภูมิปัญญาของผู้ปลูกข้าวบางรายใน จ.นครศรีธรรมราช เชื่อว่า “การใช้น้ำสกัดชีวภาพที่หมักจากรกหมู” นำมาแช่เมล็ดพันธุ์ข้าวก่อนปลูกจะทำให้มีอัตราความงอกสูงขึ้นได้…

ด้วยเหตุผลนี้ ทาง ผศ.มนทนา รุจิระศักดิ์ อาจารย์ประจำสาขาพืชศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ได้เริ่มต้นเข้าไปคลุกคลีกับเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในแปลงนา…ด้วยเป็นนักเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ (SEED TECH)…จึงทราบว่าเมล็ดพันธุ์ข้าวที่นำมาเป็นเมล็ดพันธุ์เก่า…โดยการแช่ในน้ำสกัดชีวภาพจากรกหมูจะทำให้เมล็ดมีความงอกมากขึ้น…ซึ่งขัดกับทฤษฎีที่ได้ศึกษามา จึงหาเหตุผลด้วยทำงานวิจัยชิ้นนี้ขึ้น

ผศ.มนทนา บอกว่า เมล็ดพันธุ์ข้าวที่ใช้ในการทดลองมี 2 พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ชัยนาทและพันธุ์สังข์หยดพัทลุง ซึ่งมีความแตกต่างกัน คือ ข้าวพันธุ์ชัยนาท ไม่ไวต่อแสง ปลูกเมื่อไหร่ก็ได้ขอให้มีน้ำ ส่วนข้าวพันธุ์สังข์หยดพัทลุง ไวต่อแสงจะออกดอกได้เมื่อเจอแสงในรอบปี และที่สำคัญอีกประการ ข้าวพันธุ์สังข์หยดพัทลุงเป็นพันธุ์ข้าวอินทรีย์ ในอนาคตจะมีพื้นที่การปลูกมากยิ่งขึ้น ส่วนการวิจัยมีหลายขั้นตอน ครั้งแรกนำมาทดลองแบบเกษตรกรปลูกทุกประการ คือ นำเอาเมล็ดพันธุ์ข้าวมาแช่น้ำเปล่าธรรมดา กับ แช่ด้วยน้ำสกัดชีวภาพจากรกหมู เพื่อตรวจดูผลที่ได้อย่างชัดเจนขึ้น…

ผลการวิจัยพบว่า การแช่น้ำสกัดชีวภาพจากรกหมูมีผลต่อคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ข้าว ทำให้เปอร์เซ็นต์การงอกของเมล็ดพันธุ์ต่างกัน โดยเพิ่มให้ เมล็ดพันธุ์งอกมากกว่าถึง 12.62 ต้นต่อวัน  ส่วน  แช่ในน้ำธรรมดาเมล็ดพันธุ์งอกเพียง 11.78 ต้นต่อวัน แต่ไม่มีผลต่อดัชนีการงอกของเมล็ด และน้ำหนักของต้นกล้า  สำหรับการต่อยอดความเป็นไปได้ในเชิงพาณิชย์ในการนำสารละลายน้ำสกัดชีวภาพ ไปใช้เป็นส่วนประกอบของสารพอกเมล็ดแทนสารเคมีบางชนิดในเมล็ดพอก (pellet seed) สำหรับการสร้าง เมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีมูลค่าสูง หรือ เมล็ดพันธุ์ข้าวอินทรีย์ เพื่อลดต้นทุนการผลิตนั้น ซึ่งจะได้ดำเนินการวิจัยในลำดับต่อไป

…ภูมิปัญญาชาวบ้านครั้งนี้…เป็นสิ่งที่กระทำต่อเนื่องกันมาและมีความเป็นไปได้จริง แต่หากได้นักวิชาการได้เข้าไปช่วยพิสูจน์ในเชิงวิทยาศาสตร์ได้ ก็จะทำให้เกษตรกรเกิดความภาคภูมิใจ ที่สำคัญนำไปเผยแพร่ก็เป็นอานิสงส์…แก่เกษตรกรคนอื่นนำไปใช้แล้ว…จะทำให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น…!!

ไชยรัตน์ ส้มฉุน

ทดสอบการงอกของเมล็ดพันธุ์ข้าว.
ผศ.มนทนา  รุจิระศักดิ์    ในแปลงนาทดลอง.

ไทยรัฐออนไลน์

  • โดย ไชยรัตน์ ส้มฉุน
  • 9 เมษายน 2555, 05:05 น.

ประเทศไทยกับการเป็น Hub เมล็ดพันธุ์ของภูมิภาค

kasikorn82 – Windows Live.

 

ดาวน์โหลดเอกสารต้นฉะบับ.

Hygroscopicity and longevity of some crop seeds

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=001097&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: Nongluck Chaila
ชื่อเรื่อง: Hygroscopicity and longevity of some crop seeds
Article title: Hygroscopicity and longevity of some crop seeds
ชื่อเอกสาร : รายงานการประชุมทางวิชาการเกษตรศาสตร์และชีววิทยา ครั้งที่ 10 สาขาพืช ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 3-5 กุมภาพันธ์ 2514
Source title : Proceedings of the national conference on Agricultural and Biological Sciences tenth session: Plant Science
หน่วยงานจัดพิมพ์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สถานที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปีพิมพ์: 2514
หน้า: หน้า 238-250
จำนวนหน้า: 769 หน้า
ภาษา: อังกฤษ
สาระสังเขป: สาระสังเขป (อังกฤษ)
แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก58 2514)
หมวดหลัก: F03-Seed production and processing
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: RICE, MAIZE, AUBERGINES, OKRAS, LIMA BEANS, COWPEAS, TOMATOES, SQUASHES, SEED, QUALITY, HYGROSCOPICITY, LONGEVITY, GERMINATION
ดรรชนี-ไทย: ข้าว, ข้าวโพด, มะเขือ, ถั่ว, มะเขือเทศ, กระเจี๊ยบ, เมล็ดพันธุ์, คุณภาพเมล็ดพันธุ์, ความชื้นในเมล็ด, ความมีชีวิต, ความงอก
หมายเลข: 001097 KC1001034
เอกสารฉบับเต็ม: [Download Fulltext]
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: มีคำสำคัญเหมือนกัน   ผู้แต่งคนเดียวกัน

ความงอกของเมล็ดพันธุ์พืชคลุมดินบำรุงดิน

http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=001096&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: วรรลดา กีรติภัทรกุล
ชื่อเรื่อง: ความงอกของเมล็ดพันธุ์พืชคลุมดินบำรุงดิน
Article title: Germination test of green manure and cover crop seeds
ชื่อเอกสาร : รายงานการประชุมทางวิชาการเกษตรศาสตร์และชีววิทยา ครั้งที่ 10 สาขาพืช ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 3-5 กุมภาพันธ์ 2514
Source title : Proceedings of the national conference on Agricultural and Biological Sciences tenth session: Plant Science
หน่วยงานจัดพิมพ์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สถานที่พิมพ์: กรุงเทพฯ
ปีพิมพ์: 2514
หน้า: หน้า 221-237
จำนวนหน้า: 769 หน้า
ภาษา: ไทย
แหล่งติดตามเอกสาร: สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก58 2514)
หมวดหลัก: F03-Seed production and processing
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: COVER PLANTS, LEGUMINOSAE, SEED, GERMINATION, SEEDS
ดรรชนี-ไทย: พืชคลุมดิน, พืชบำรุงดิน, เมล็ดพันธุ์, ความงอก
หมายเลข: 001096 KC1001033
เอกสารฉบับเต็ม: [Download Fulltext]
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: มีคำสำคัญเหมือนกัน   ผู้แต่งคนเดียวกัน