ผู้แต่ง: | สุขวัฒน์ จันทรปรรณิก; วิทยา มาสร้างสรรค์; หริ่ง มีสวัสดิ์; ประดิษฐ์ บุญอำพล |
ชื่อเรื่อง: | ศึกษาการใช้ปุ๋ยกับการปลูกข้าวโพดติดต่อกันในดินชุดปากช่อง |
Article title: | Corn mono cropping fertilization in Pak Chong soil |
ชื่อเอกสาร : | รวมเรื่องย่อการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 18 สาขาพืช ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน 28-30 มกราคม 2523 |
หน่วยงานจัดพิมพ์: | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
สถานที่พิมพ์: | กรุงเทพฯ |
ปีพิมพ์: | 2523 |
หน้า: | หน้า 51-51(1) |
จำนวนหน้า: | 114 หน้า |
ภาษา: | ไทย |
สาระสังเขป: | สาระสังเขป (ไทย) |
แหล่งติดตามเอกสาร: | สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก581 2523) |
หมวดหลัก: | F04-Fertilizing |
หมวดรอง: | P35-Soil fertility |
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: | ZEA MAYS, FERTILIZERS, SOIL TYPES, CONTINUOUS CROPPING, APPLICATION RATES, EFFICIENCY, SOIL FERTILITY, YIELDS |
ดรรชนี-ไทย: | ข้าวโพด, ปุ๋ย, ดินชุดปากช่อง, การปลูกติดต่อกัน, อัตราการใช้ปุ๋ย, ประสิทธิภาพ, ความอุดมสมบูรณ์ของดิน, ผลผลิต |
หมายเลข: | 002037 KC1801053 |
เอกสารฉบับเต็ม: | ![]() |
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: | มีคำสำคัญเหมือนกัน ผู้แต่งคนเดียวกัน |
ปุ๋ย
All posts tagged ปุ๋ย
ศึกษาการใช้ปุ๋ยในระบบการปลูกพืชเหลื่อมฤดู I. ระบบถั่วเหลือง-ข้าวโพดหวาน-ถั่วเขียว
Published กุมภาพันธ์ 4, 2013 by SoClaimonผู้แต่ง: | ดำริ ถาวรมาศ; ประสพ วีระกรพานิช |
ชื่อเรื่อง: | ศึกษาการใช้ปุ๋ยในระบบการปลูกพืชเหลื่อมฤดู I. ระบบถั่วเหลือง-ข้าวโพดหวาน-ถั่วเขียว |
Article title: | Study of fertilizer usages for a relay cropping system I. Soybean-sweetcorn-mungbean |
ชื่อเอกสาร : | รวมเรื่องย่อการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 18 สาขาพืช ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน 28-30 มกราคม 2523 |
หน่วยงานจัดพิมพ์: | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
สถานที่พิมพ์: | กรุงเทพฯ |
ปีพิมพ์: | 2523 |
หน้า: | หน้า 6 |
จำนวนหน้า: | 114 หน้า |
ภาษา: | ไทย |
สาระสังเขป: | สาระสังเขป (ไทย) |
แหล่งติดตามเอกสาร: | สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก581 2523) |
หมวดหลัก: | F04-Fertilizing |
หมวดรอง: | F08-Cropping patterns and systems |
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: | GLYCINE MAX, ZEA MAYS, VIGNA RADIATA, FERTILIZERS, INTERCROPPING, YIELDS |
อรรถาภิธาน-ไทย: | GLYCINE MAX, ZEA MAYS, VIGNA RADIATA, ปุ๋ย, การปลูกพืชแซม, ผลผลิต |
ดรรชนี-ไทย: | ถั่วเหลือง, ข้าวโพดหวาน, ถั่วเขียว, ปุ๋ย, ระบบการปลูกพืชเหลื่อมฤดู, ผลผลิต |
หมายเลข: | 001990 KC1801006 |
เอกสารฉบับเต็ม: | ![]() |
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: | มีคำสำคัญเหมือนกัน ผู้แต่งคนเดียวกัน |
รู้มาเล่าไป:วิธีซื้อปุ๋ยป้องกันปลอม
Published กรกฎาคม 14, 2012 by SoClaimonรู้มาเล่าไป:วิธีซื้อปุ๋ยป้องกันปลอม
คอลัมน์ รู้มาเล่าไป : วิธีเลือกซื้อปุ๋ยป้องกันปลอม : โดย … ดลมนัส กาเจ
วันพุธที่แล้วพูดถึงพวกมิจฉาชีพที่จะมากับฤดูการทำนาที่เกษตรกรต้องระวัง โดยเฉพาะพ่อค้าปุ๋ยปลอม สารเคมีเพื่อการเกษตร รวมถึงเมล็ดพันธุ์ด้อยคุณภาพ ที่ออกล่าเหยื่อตามหมู่บ้านต่างๆ และพวกแก๊งมิจฉาชีพที่ออกอาละวาดลักขโมยเครื่องจักรกลเพื่อการเกษตร ที่ชาวนาทิ้งไว้ที่ทุ่งนา เพราะไม่ต้องการพากลับบ้านให้ยุ่งยาก
คิดดูสิครับ ลำพังเกษตรกรชาวนาอยู่กันไปวันๆ พอเลี้ยงครอบครัวได้เท่านั้น บางปีก็ประสบความขาดทุน กลุ่มคนเหล่านี้มาหลอกลวง ถือเป็นการซ้ำเติมอีก
พูดถึงเรื่องของพ่อค้าปุ๋ยปลอม ขณะนี้ทางกรมวิชาการเกษตรได้ออกมาตรการในการป้องกันแล้ว เพื่อให้สอดคล้องกับวันพุธที่แล้ว ผมจึงนำมาตรการและข้อแนะของกรมวิชาการเกษตรมาเล่าสู่กันต่อครับ คือว่าขณะนี้ทางกรมวิชาการเกษตรได้มอบหมายเจ้าหน้าที่สารวัตรเกษตรทั้งส่วนกลางและภูมิภาค และเครือข่ายสารวัตรเกษตรทั่วประเทศให้ติดตามขบวนการเร่ขายปุ๋ยอย่างใกล้ชิด
นอกจากนี้ ยังมีการตรวจสอบแหล่งผลิตและสถานที่จำหน่ายปัจจัยการผลิตทางการเกษตรอย่างต่อเนื่อง พร้อมให้สุ่มเก็บตัวอย่างปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์ สารเคมีการเกษตร และเมล็ดพันธุ์พืชที่วางจำหน่ายในร้านค้ามาตรวจวิเคราะห์คุณภาพด้วย เพื่อปกป้องเกษตรกรไม่ให้ถูกเอาเปรียบ ขณะเดียวกันเกษตรกรเองก็ต้องเลือกซื้อปุ๋ย หรือสารเคมีจากร้านที่เชื่อถือได้ ต้องดูที่มีเครื่องหมายการค้า เลขทะเบียนที่ได้รับการขึ้นทะเบียนจากกรมวิชาการเกษตรเพื่อป้องกันตัวเองด้วย และไม่ควรซื้อปุ๋ยจากพ่อค้าเร่ที่ไม่มีหลักแหล่งแน่นอน
ที่สำคัญ ก่อนที่จะตัดสินใจซื้อปุ๋ยนั้น กรมวิชาการเกษตรแนะนำว่า เกษตรกรควรเก็บตัวอย่างดินในแปลงของตนเองส่งตรวจวิเคราะห์ที่กรมพัฒนาที่ดิน แล้วใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินและใช้ปุ๋ยตรงตามความต้องการของพืชที่ปลูก อย่างนี้แหละที่เรียกกันว่า”ปุ๋ยสั่งตัด” จะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซื้อปุ๋ย และทำให้ได้รับผลตอบแทนคุ้มค่าครับ
การซื้อปุ๋ยนั้นเกษตรกรต้องสังเกตุครับ ถ้าเป็นปุ๋ยเม็ดจะต้องมีขนาดเม็ดปุ๋ยสม่ำเสมอ เม็ดแข็งพอสมควร ไม่แตกยุ่ยง่าย และต้องไม่จับตัวเป็นก้อนแข็ง เกษตรกรต้องตรวจดูฉลากก่อนซื้อ จะต้องมีคำว่า “ปุ๋ยเคมี” หรือ “ปุ๋ยมาตรฐาน” ทั้งยังต้องมีสูตรเป็นเลขจำนวนเต็ม อาทิ ไนโตรเจนทั้งหมด-ฟอสเฟตที่เป็นประโยชน์-โปแตสที่ละลายน้ำ มีเครื่องหมายการค้าหรือตรา และบนบรรจุภัณฑ์ต้องแสดงน้ำหนักสุทธิ มีชื่อผู้ผลิตและสถานที่จำหน่าย กรณีที่เกษตรกรจะซื้อที่เป็นปุ๋ยน้ำ วิธีดูคือต้องไม่มีตะกอนนอนก้นขวดครับ
นี่เป็นการแนะนำเบื้องต้น หากเกษตรทำตามโอกาสจะถูกหลอกนั้นจะน้อยลง หรืออาจไม่ถูกหลอกเลยครับ!
———-
(หมายเหตุ : คอลัมน์ รู้มาเล่าไป : วิธีเลือกซื้อปุ๋ยป้องกันปลอม : โดย … ดลมนัส กาเจ)
———-
การทดสอบปุ๋ยอ้อยในท้องที่ที่มีการให้น้ำชลประทาน
Published กรกฎาคม 1, 2012 by SoClaimonผู้แต่ง: | ปรีชา ประจวบเหมาะ |
ชื่อเรื่อง: | การทดสอบปุ๋ยอ้อยในท้องที่ที่มีการให้น้ำชลประทาน |
Article title: | Regional fertilizer trials for sugarcane under irrigation |
ชื่อเอกสาร : | การประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 17 สาขาพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน 2522: รวมเรื่องย่อ |
หน่วยงานจัดพิมพ์: | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
สถานที่พิมพ์: | กรุงเทพฯ |
ปีพิมพ์: | 2522 |
หน้า: | หน้า 66 |
จำนวนหน้า: | 94 หน้า |
ภาษา: | ไทย |
สาระสังเขป: | สาระสังเขป (ไทย) |
แหล่งติดตามเอกสาร: | สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก581 2522) |
หมวดหลัก: | F04-Fertilizing |
หมวดรอง: | F06-Irrigation |
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: | SACCHARUM OFFICINARUM, FERTILIZERS, IRRIGATION LAND, YIELDS |
ดรรชนี-ไทย: | อ้อย, ปุ๋ย, พื้นที่ชลประทาน, ผลผลิต |
หมายเลข: | 001872 KC1701066 |
เอกสารฉบับเต็ม: | ![]() |
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: | มีคำสำคัญเหมือนกัน ผู้แต่งคนเดียวกัน |
อิทธิพลของปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพริกขี้หนูในดินปากช่อง
Published กรกฎาคม 1, 2012 by SoClaimonผู้แต่ง: | ผกาทิพย์ จินตกานนท์; แจ่มจันทร์ วิจารสรณ์; นิรันดร์ สิงหบุตรา; สุรฉัตร สนทอง |
ชื่อเรื่อง: | อิทธิพลของปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพริกขี้หนูในดินปากช่อง |
Article title: | Effects of NPK fertilizers on the growth and yield of bird pepper in Pakchong soil |
ชื่อเอกสาร : | การประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 17 สาขาพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน 2522: รวมเรื่องย่อ |
หน่วยงานจัดพิมพ์: | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
สถานที่พิมพ์: | กรุงเทพฯ |
ปีพิมพ์: | 2522 |
หน้า: | หน้า 53 |
จำนวนหน้า: | 94 หน้า |
ภาษา: | ไทย |
สาระสังเขป: | สาระสังเขป (ไทย) |
แหล่งติดตามเอกสาร: | สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก581 2522) |
หมวดหลัก: | F04-Fertilizing |
หมวดรอง: | F62-Plant physiology – Growth and development F01-Crop husbandry |
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: | CAPSICUM ANNUUM, FERTILIZERS, GROWTH, YIELDS |
ดรรชนี-ไทย: | พริกขี้หนู, ปุ๋ย, การเจริญเติบโต, ผลผลิต, ดินปากช่อง, การแตกกิ่ง, ความสูง |
หมายเลข: | 001859 KC1701053 |
เอกสารฉบับเต็ม: | ![]() |
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: | มีคำสำคัญเหมือนกัน ผู้แต่งคนเดียวกัน |
การทดลองปุ๋ยกับมันสำปะหลังบนดินชุดสัตหีบ
Published กรกฎาคม 1, 2012 by SoClaimonผู้แต่ง: | สมาน รุ่งเรือง; ประวัติ อุทโยภาศ; ครรชิต กูรมะโรหิต; โชติ สิทธิบุศย์ |
ชื่อเรื่อง: | การทดลองปุ๋ยกับมันสำปะหลังบนดินชุดสัตหีบ |
Article title: | Cassava fertilizer trials on Sattahip soil |
ชื่อเอกสาร : | การประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 17 สาขาพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน 2522: รวมเรื่องย่อ |
หน่วยงานจัดพิมพ์: | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
สถานที่พิมพ์: | กรุงเทพฯ |
ปีพิมพ์: | 2522 |
หน้า: | หน้า 52 |
จำนวนหน้า: | 94 หน้า |
ภาษา: | ไทย |
สาระสังเขป: | สาระสังเขป (ไทย) |
แหล่งติดตามเอกสาร: | สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก581 2522) |
หมวดหลัก: | F04-Fertilizing |
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: | MANIHOT ESCULENTA, FERTILIZERS, FERTILIZER APPLICATION, YIELDS |
ดรรชนี-ไทย: | มันสำปะหลัง, ปุ๋ย, ดินชุดสัตหีบ, การใช้ปุ๋ย, อัตราปุ๋ย, ผลผลิต |
หมายเลข: | 001858 KC1701052 |
เอกสารฉบับเต็ม: | ![]() |
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: | มีคำสำคัญเหมือนกัน ผู้แต่งคนเดียวกัน |
อิทธิพลของปุ๋ยและระยะปลูกต่อผลผลิตและความเข้มของสีของดอกอัญชัน
Published พฤษภาคม 19, 2012 by SoClaimonผู้แต่ง: | วารุณี วารัญญานนท์; สมเพียร เกษมทรัพย์; ธีระ ภิญโญ; มนู โป้สมบูรณ์ |
ชื่อเรื่อง: | อิทธิพลของปุ๋ยและระยะปลูกต่อผลผลิตและความเข้มของสีของดอกอัญชัน |
Article title: | Influence of spacing and fertilizer on production of butterfly pea using as a dye plant |
ชื่อเอกสาร : | การประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 17 สาขาพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน 2522: รวมเรื่องย่อ |
หน่วยงานจัดพิมพ์: | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
สถานที่พิมพ์: | กรุงเทพฯ |
ปีพิมพ์: | 2522 |
หน้า: | หน้า 21 |
จำนวนหน้า: | 94 หน้า |
ภาษา: | ไทย |
สาระสังเขป: | สาระสังเขป (ไทย) |
แหล่งติดตามเอกสาร: | สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก581 2522) |
หมวดหลัก: | F04-Fertilizing |
หมวดรอง: | F01-Crop husbandry F60-Plant physiology and biochemistry |
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: | CLITORIA TERNATEA, FERTILIZERS, SPACING, FERTILIZER APPLICATION, YIELDS, COLOUR |
ดรรชนี-ไทย: | อัญชัน, ปุ๋ย, ระยะปลูก, การให้ปุ๋ย, ผลผลิต, ดอก, ความเข้มของสี |
หมายเลข: | 001827 KC1701021 |
เอกสารฉบับเต็ม: | ![]() |
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: | มีคำสำคัญเหมือนกัน ผู้แต่งคนเดียวกัน |
ใช้ “ปุ๋ยสั่งตัด” ลดต้นทุนในยุคปุ๋ยแพง…กันดีกว่า
Published พฤษภาคม 13, 2012 by SoClaimonhttp://info.matichon.co.th/techno/techno.php?srctag=05113150455&srcday=2012-04-15&search=no
วันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2555 ปีที่ 24 ฉบับที่ 525 |
เรื่องเล่าจากสองข้างทาง
จิรวรรณ โรจนพรทิพย์
ใช้ “ปุ๋ยสั่งตัด” ลดต้นทุนในยุคปุ๋ยแพง…กันดีกว่า
ตั้งแต่ปลายปี 2554 เป็นต้นมา มักได้ยินเสียงร้องเรียนจากเกษตรกรในหลายพื้นที่ว่า ราคาปุ๋ยเคมี ปีนี้แพงจับใจเหลือเกิน ตั้งแต่ วันที่ 7 ธันวาคม 2554 เป็นต้นมา ปุ๋ยยอดนิยมที่จำเป็นต้องใช้ในการเพาะปลูก ปรับราคาขึ้นสูงกว่า 50-100% ปุ๋ยเคมี สูตรเสมอ 15-15-15 น้ำหนัก 50 กิโลกรัม ปรับราคาขายเพิ่มขึ้น เป็นถุงละ 869-891 บาท ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต สูตร 20-0-0 ปรับราคาเพิ่มเป็น ถุงละ 541-623 บาท ปุ๋ยยูเรีย สูตร 46-0-0 ขายตันละ 14,300 บาท เมื่อเทียบกับปีก่อน ที่มีราคาขายเพียงตันละ 13,100 บาท
เมื่อปลายเดือนมีนาคมที่ผ่านมา ตัวแทนสมาคมการค้าปุ๋ยและธุรกิจเกษตรไทยได้เข้าพบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์เพื่อขอปรับราคาปุ๋ยเคมีรอบใหม่ โดยอ้างว่า ต้นทุนน้ำมันแพงกว่า 10% ไม่รวมต้นทุนค่าขนส่งและค่าบริหารจัดการ ที่ได้ผลกระทบจากการปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ วันละ 300 บาท สำหรับสต๊อกปุ๋ยเก่าที่มีอยู่ในประเทศขณะนี้ สามารถจำหน่ายได้ถึงช่วงกลางปีนี้เท่านั้น หากนำเข้าปุ๋ยล็อตใหม่สำหรับขายในช่วงปลายปีนี้ ผู้ค้าปุ๋ยจะขอปรับราคาขายเพิ่มขึ้น หากรัฐบาลไม่อนุมัติ ก็จะหยุดการนำเข้าปุ๋ยเคมี ซึ่งอาจส่งผลกระทบทำให้ขาดแคลนปุ๋ยเคมีในฤดูการปลูกข้าวนาปี 2555/2556
สำหรับปีที่ผ่านมา เมืองไทยมีการใช้ปุ๋ยเคมี ประมาณ 5.3 ล้านตัน แต่ปีนี้ มีปริมาณความต้องการใช้ปุ๋ยเพิ่มขึ้นถึง 5.4 ล้านตัน และเนื่องจากปีนี้ ราคาปุ๋ยเคมีปรับตัวค่อนข้างสูง คุณธีระ วงศ์สมุทร รมว.กระทรวงเกษตรฯ รับปากว่า ติดตามสถานการณ์ราคาปุ๋ยให้เกิดความเป็นธรรมต่อเกษตรกรไม่ให้ถูกเอารัดเอาเปรียบ รวมทั้งเร่งส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาใช้ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ให้เกิดความสมดุลและเหมาะสมกับสภาพดิน เพื่อช่วยลดต้นทุน
“ปุ๋ยสั่งตัด” จากผลงานวิจัยของ ศ.ดร. ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ และคณะ ถือเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่จะช่วยเกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มโอกาสสร้างผลกำไรได้ในยุคปุ๋ยแพง ก่อนหน้านี้ ธ.ก.ส.ได้เคยสำรวจพบว่า หากเกษตรกรซื้อ “ปุ๋ยสั่งตัด” มาใช้งาน จะสามารถลดต้นทุนการผลิตได้ประมาณ 20% แต่หากซื้อปุ๋ยเคมีมาผสมด้วยตัวเองจะลดต้นทุนถึง 41% ทีเดียว
เทคนิคปุ๋ยเคมี “สั่งตัด” อาศัยหลักการง่ายๆ คือ มุ่งจัดการธาตุอาหารพืชเฉพาะพื้นที่ โดยนำข้อมูลชุดดินและข้อมูล เอ็น-พี-เค ในดินมาประกอบการตัดสินใจเลือกสูตรปุ๋ย และกำหนดปริมาณปุ๋ยในการปลูกพืช เป็นการใช้ปุ๋ยเคมีตามชุดดินและค่าวิเคราะห์ดิน ซึ่ง ศ.ดร. ทัศนีย์ ได้นำปัจจัยหลักที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของพืช เช่น พันธุ์พืช แสงแดด อุณหภูมิ ปริมาณน้ำฝน ฯลฯ มาสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ โดยใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยเคมีอีกทางหนึ่ง
คุณกฤชนนท์ ห่อทองคำ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไอออนิค จำกัด ผู้จำหน่ายปุ๋ยอินทรีย์เคมี ตรานกอินทรีคู่ (เบอร์โทร. (02) 884-9155 เล่าให้ฟังว่า ปุ๋ยสั่งตัด มีจุดแข็งคือ มีต้นทุนต่ำ เกษตรกรสามารถประหยัดต้นทุนการผลิตได้เป็นจำนวนมาก ปัจจุบัน บริษัทมีลูกค้ากว่า 10 ราย ซึ่งเป็นเกษตรกรรายใหญ่ เจ้าของไร่อ้อยและมันสำปะหลังที่สนใจใช้บริการ ปุ๋ยสั่งตัดกับทางบริษัท เนื่องจากปุ๋ยสั่งตัดมีราคาถูกกว่าปุ๋ยเคมีสำเร็จรูปที่วางขายในท้องตลาดทั่วไปถึง 16% และการเลือกใช้ปุ๋ยสั่งตัด ตามสภาพดินและความต้องการของพืช ช่วยทำให้มีผลผลิตเพิ่มขึ้นกว่า 26%
เนื่องจาก ปุ๋ยสั่งตัด เกิดจากการนำแม่ปุ๋ยหลายชนิดมาผสมคลุกเคล้ากัน เวลาเกษตรกรนำปุ๋ยสั่งตัดไปหว่านในแปลงไร่นา เม็ดปุ๋ยจะกระจัดกระจายไปคนละทิศละทาง ทำให้ประสิทธิภาพการใช้งานอาจจะด้อยลงไปบ้าง อย่างไรก็ตาม จุดอ่อนดังกล่าวกำลังถูกปรับปรุงแก้ไข โดยทีมผู้วิจัยเรื่องปุ๋ยสั่งตัด ร่วมกับสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.) กำลังเร่งพัฒนา “ปุ๋ยสั่งตัด” ในรูปโฉมใหม่ ทันสมัย สะดวกต่อการใช้งาน แถมมีประสิทธิภาพการปลดปล่อยธาตุอาหาร ตรงตามความต้องการของพืชในแต่ละระยะการเติบโต อดใจรออีกสักนิด ช่วงปลายปีนี้ เกษตรกรไทยจะมีโอกาสใช้ปุ๋ยสั่งตัดรูปโฉมใหม่ และมีประสิทธิภาพสูงอย่างแน่นอน
การศึกษาการตรึงไนโตรเจนในดินนาของประเทศไทย
Published เมษายน 18, 2012 by SoClaimonผู้แต่ง: | วิศิษฐ์ โชลิตกุล; บรรหาร แตงฉ่ำ; ประพิศ แสงทอง |
ชื่อเรื่อง: | การศึกษาการตรึงไนโตรเจนในดินนาของประเทศไทย |
Article title: | Study on nitrogen fixation of Thai paddy soils |
ชื่อเอกสาร : | การประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 16 สาขาพืช ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน 2521: รวมเรื่องย่อ |
หน่วยงานจัดพิมพ์: | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
สถานที่พิมพ์: | กรุงเทพฯ |
ปีพิมพ์: | 2521 |
หน้า: | หน้า 29 |
จำนวนหน้า: | 126 หน้า |
ภาษา: | ไทย |
สาระสังเขป: | สาระสังเขป (ไทย) |
แหล่งติดตามเอกสาร: | สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก581 2526) |
หมวดหลัก: | P33-Soil chemistry and physics |
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: | PADDY SOIL, NITROGEN FIXATION, ORYZA SATIVA, ALGAE, FERTILIZERS, GROWTH |
ดรรชนี-ไทย: | ดินนา, การตรึงไนโตรเจน, ข้าว, สาหร่าย, ปุ๋ย, การเจริญเติบโต |
หมายเลข: | 001662 KC1601029 |
เอกสารฉบับเต็ม: | ![]() |
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: | มีคำสำคัญเหมือนกัน ผู้แต่งคนเดียวกัน |
ศึกษาผลของเวลาปักดำต่อลักษณะการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าว
Published เมษายน 10, 2012 by SoClaimonผู้แต่ง: | ธารทิพย์ เพชระบูรณิน; นที เนียมศรีจันทร์ |
ชื่อเรื่อง: | ศึกษาผลของเวลาปักดำต่อลักษณะการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าว |
Article title: | Effect of planting times on growth characters and grain yield of rice |
ชื่อเอกสาร : | การประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 15 สาขาพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพมหานคร 2519: รวมเรื่องย่อ |
หน่วยงานจัดพิมพ์: | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
สถานที่พิมพ์: | กรุงเทพฯ |
ปีพิมพ์: | 2519 |
หน้า: | หน้า 29 |
จำนวนหน้า: | 90 แผ่น |
ภาษา: | ไทย |
สาระสังเขป: | สาระสังเขป (ไทย) |
แหล่งติดตามเอกสาร: | สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก581 2519) |
หมวดหลัก: | F01-Crop husbandry |
หมวดรอง: | F04-Fertilizing |
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: | ORYZA SATIVA, PLANTING DATE, FERTILIZERS, GROWTH, YIELDS |
ดรรชนี-ไทย: | ข้าว, เวลาปักดำ, ปุ๋ย, การเจริญเติบโต, ผลผลิต |
หมายเลข: | 001522 KC1501029 |
เอกสารฉบับเต็ม: | ![]() |
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: | มีคำสำคัญเหมือนกัน ผู้แต่งคนเดียวกัน |