ผู้แต่ง: | ศจี เจริญยิ่ง |
ชื่อเรื่อง: | การหาปริมาณน้ำใช้ของถั่วเหลือง ถั่วลิสง และถั่วเขียว |
Article title: | Trial on consumptive use of soybean, groundnut and mungbean |
ชื่อเอกสาร : | การประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 19 สาขาพืช อาคารศูนย์เรียนรวม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 3-5 กุมภาพันธ์ 2524: รวมเรื่องย่อ |
หน่วยงานจัดพิมพ์: | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
สถานที่พิมพ์: | กรุงเทพฯ |
ปีพิมพ์: | 2524 |
หน้า: | หน้า 15-16 |
จำนวนหน้า: | 146 หน้า |
ภาษา: | ไทย |
สาระสังเขป: | สาระสังเขป (ไทย) |
แหล่งติดตามเอกสาร: | สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก581 2524) |
หมวดหลัก: | F60-Plant physiology and biochemistry |
หมวดรอง: | F30-Plant genetics and breeding |
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: | GLYCINE MAX, ARACHIS HYPOGAEA, VIGNA RADIATA RADIATA, PLANT WATER RELATIONS, VARIETIES |
ดรรชนี-ไทย: | ถั่วเหลือง, ถั่วลิสง, ถั่วเขียว, ปริมาณการใช้น้ำ, พันธุ์ |
หมายเลข: | 002191 KC1901010 |
เอกสารฉบับเต็ม: | ![]() |
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: | มีคำสำคัญเหมือนกัน ผู้แต่งคนเดียวกัน |
ถั่วเหลือง
All posts tagged ถั่วเหลือง
การศึกษาผลของเชื้อรา เวสลิคูลา-อาบัสคูลา ไมคอไรซา ร่วมกับไรโซเบียมต่อถั่วเหลือง
Published กรกฎาคม 22, 2013 by SoClaimonผู้แต่ง: | จรัญ เจตนะจิตร; พูนพิไล สุวรรณฤทธิ์; อภิญญา ผลิโกมล |
ชื่อเรื่อง: | การศึกษาผลของเชื้อรา เวสลิคูลา-อาบัสคูลา ไมคอไรซา ร่วมกับไรโซเบียมต่อถั่วเหลือง |
Article title: | Studies on the effect of vesicular-arbuscular mycorrhizal fungi plus Rhizobium on soybean |
ชื่อเอกสาร : | การประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 19 สาขาพืช อาคารศูนย์เรียนรวม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 3-5 กุมภาพันธ์ 2524: รวมเรื่องย่อ |
หน่วยงานจัดพิมพ์: | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
สถานที่พิมพ์: | กรุงเทพฯ |
ปีพิมพ์: | 2524 |
หน้า: | หน้า 5-6 |
จำนวนหน้า: | 146 หน้า |
ภาษา: | ไทย |
สาระสังเขป: | สาระสังเขป (ไทย) |
แหล่งติดตามเอกสาร: | สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก581 2524) |
หมวดหลัก: | P34-Soil biology |
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: | GLYCINE MAX, VESICULAR ARBUSCULAR MYCORRHIZAE, RHIZOBIUM, FUNGI, FUNGAL SPORES, FUNGAL MORPHOLOGY, GROWTH, YIELDS, NUTRIENT UPTAKE |
ดรรชนี-ไทย: | ถั่วเหลือง, VESICULAR ARBUSCULAR MYCORRHIZA, ไรโซเบียม, เชื้อรา, CHLAMYDOSPORE, สัณฐานวิทยา, การเจริญเติบโต, ผลผลิต, ปริมาณธาตุอาหารในพืช |
หมายเลข: | 002184 KC1901003 |
เอกสารฉบับเต็ม: | ![]() |
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: | มีคำสำคัญเหมือนกัน ผู้แต่งคนเดียวกัน |
ผลตกค้างของปุ๋ยอินทรีย์และปูนขาวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของถั่วเหลืองในปีที่สาม
Published กรกฎาคม 18, 2013 by SoClaimonผู้แต่ง: | พิชิต พงษ์สกุล; สุวพันธ์ รัตนะรัต |
ชื่อเรื่อง: | ผลตกค้างของปุ๋ยอินทรีย์และปูนขาวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของถั่วเหลืองในปีที่สาม |
Article title: | Residual effects of lime and compost on growth and yields of SJ.4 soybean grown on acid soil |
ชื่อเอกสาร : | รวมเรื่องย่อการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 18 สาขาพืช ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน 28-30 มกราคม 2523 |
หน่วยงานจัดพิมพ์: | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
สถานที่พิมพ์: | กรุงเทพฯ |
ปีพิมพ์: | 2523 |
หน้า: | หน้า 48 |
จำนวนหน้า: | 114 หน้า |
ภาษา: | สาระสังเขป |
สาระสังเขป: | สาระสังเขป (ไทย) |
แหล่งติดตามเอกสาร: | สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก581 2523) |
หมวดหลัก: | F04-Fertilizing |
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: | GLYCINE MAX, ORGANIC FERTILIZERS, LIMING MATERIALS, ACID SOILS, RESIDUES, GROWTH, YIELDS |
ดรรชนี-ไทย: | ถั่วเหลือง, ปุ๋ยอินทรีย์, ปูนขาว, ดินกรดจัด, ผลตกค้าง, การเจริญเติบโต, ผลผลิต |
หมายเลข: | 002034 KC1801050 |
เอกสารฉบับเต็ม: | ![]() |
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: | มีคำสำคัญเหมือนกัน ผู้แต่งคนเดียวกัน |
อ๊อกซิเดชั่นของเหล็กและแมงกานีส หลังจากการระบายน้ำออกจากดินน้ำขังและการเป็นพิษของแมงกานีสในถั่วเหลือง
Published กรกฎาคม 18, 2013 by SoClaimonผู้แต่ง: | ไพบูลย์ วิวัฒน์วงศ์วนา |
ชื่อเรื่อง: | อ๊อกซิเดชั่นของเหล็กและแมงกานีส หลังจากการระบายน้ำออกจากดินน้ำขังและการเป็นพิษของแมงกานีสในถั่วเหลือง |
Article title: | Oxidation of Fe and Mn following drainage of a reduced soil and Mn toxicity in soybeans |
ชื่อเอกสาร : | รวมเรื่องย่อการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 18 สาขาพืช ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน 28-30 มกราคม 2523 |
หน่วยงานจัดพิมพ์: | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
สถานที่พิมพ์: | กรุงเทพฯ |
ปีพิมพ์: | 2523 |
หน้า: | หน้า 47-47(1) |
จำนวนหน้า: | 114 หน้า |
ภาษา: | ไทย |
สาระสังเขป: | สาระสังเขป (ไทย) |
แหล่งติดตามเอกสาร: | สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก581 2523) |
หมวดหลัก: | H50-Miscellaneous plant disorders |
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: | GLYCINE MAX, FLOODED LAND, IRON, MANGANESE, DRAINAGE, OXIDATION, PHYTOTOXICITY |
ดรรชนี-ไทย: | ถั่วเหลือง, ดินน้ำขัง, เหล็ก, แมงกานีส, การระบายน้ำ, ออกซิเดชั่น, การเป็นพิษ |
หมายเลข: | 002033 KC1801049 |
เอกสารฉบับเต็ม: | ![]() |
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: | มีคำสำคัญเหมือนกัน ผู้แต่งคนเดียวกัน |
การศึกษาพันธุกรรมของลักษณะความต้านทานโรคราสนิมถั่วเหลือง
Published กรกฎาคม 18, 2013 by SoClaimonผู้แต่ง: | สุนทร ดวงพลอย; มานพ ซับซ้อน |
ชื่อเรื่อง: | การศึกษาพันธุกรรมของลักษณะความต้านทานโรคราสนิมถั่วเหลือง |
Article title: | Genetic study of soybean rust (Phakopsora pachyrhizi Syd.) resistance |
ชื่อเอกสาร : | รวมเรื่องย่อการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 18 สาขาพืช ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน 28-30 มกราคม 2523 |
หน่วยงานจัดพิมพ์: | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
สถานที่พิมพ์: | กรุงเทพฯ |
ปีพิมพ์: | 2523 |
หน้า: | หน้า 35 |
จำนวนหน้า: | 114 หน้า |
ภาษา: | ไทย |
สาระสังเขป: | สาระสังเขป (ไทย) |
แหล่งติดตามเอกสาร: | สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก581 2523) |
หมวดหลัก: | F30-Plant genetics and breeding |
หมวดรอง: | H20-Plant diseases |
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: | GLYCINE MAX, RUSTS, DISEASE RESISTANCE, HERITABILITY, FLOWERING, GROWTH, YIELDS |
ดรรชนี-ไทย: | ถั่วเหลือง, โรคราสนิม, ความต้านทานโรคพืช, การถ่ายทอดทางพันธุกรรม, การออกดอก, การเจริญเติบโต, ผลผลิต |
หมายเลข: | 002020 KC1801036 |
เอกสารฉบับเต็ม: | ![]() |
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: | มีคำสำคัญเหมือนกัน ผู้แต่งคนเดียวกัน |
การใช้น้ำของพืชไร่ (ถั่วเหลือง ยาสูบ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์)
Published กุมภาพันธ์ 18, 2013 by SoClaimonผู้แต่ง: | ศจี เจริญยิ่ง |
ชื่อเรื่อง: | การใช้น้ำของพืชไร่ (ถั่วเหลือง ยาสูบ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์) |
Article title: | Trial on consumptive use of upland crops (Soybean, Tobacco, Corn) |
ชื่อเอกสาร : | รวมเรื่องย่อการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 18 สาขาพืช ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน 28-30 มกราคม 2523 |
หน่วยงานจัดพิมพ์: | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
สถานที่พิมพ์: | กรุงเทพฯ |
ปีพิมพ์: | 2523 |
หน้า: | หน้า 31 |
จำนวนหน้า: | 114 หน้า |
ภาษา: | ไทย |
สาระสังเขป: | สาระสังเขป (ไทย) |
แหล่งติดตามเอกสาร: | สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก581 2523) |
หมวดหลัก: | F60-Plant physiology and biochemistry |
หมวดรอง: | F30-Plant genetics and breeding |
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: | GLYCINE MAX, NICOTIANA TABACUM, ZEA MAYS, PLANT WATER RELATIONS, VARIETIES, GROWTH, YIELDS |
ดรรชนี-ไทย: | ถั่วเหลือง, ยาสูบ, ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์, ปริมาณการใช้น้ำ, พันธุ์, การเจริญเติบโต, ผลผลิต |
หมายเลข: | 002016 KC1801032 |
เอกสารฉบับเต็ม: | ![]() |
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: | มีคำสำคัญเหมือนกัน ผู้แต่งคนเดียวกัน |
ถั่วเหลืองกลิ่นใบเตย พันธุ์ใหม่จากใจแม่โจ้
Published กุมภาพันธ์ 14, 2013 by SoClaimonhttp://www.thairath.co.th/content/edu/320633
17 มกราคม 2556, 05:00 น.
เมื่อก่อน…คนรุ่นปู่ย่าแค่ได้กินขนมทำจากถั่วเหลือง…ก็รู้สึกอร่อย หอมกรุ่นนุ่มลิ้นแล้ว แต่มาสมัยนี้วัฒนธรรมการกินเปลี่ยนไป เด็กรู้จักแต่ขนมฝรั่ง คุกกี้ เค้ก โดนัท ฯลฯ นอกจากหน้าตาจะน่ารับประทาน กลิ่นยังหอมหวนชวนกินกว่าขนมไทยหลายเท่า
ด้วยเหตุนี้ ผศ.ดร.เรืองชัย จูวัฒนสำราญ สาขาพืชไร่ คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ.เชียงใหม่ มีแนวคิดปรับปรุงพันธุ์ถั่วเหลืองให้มีกลิ่นหอมมากขึ้น
เพื่อจะได้จูงใจให้เด็กไทยได้กินขนมทำจากถั่วเหลืองที่อุดมไปด้วยคุณค่าทางโภชนาการ…ไม่ใช่ไปหลงใหลอยู่กับขนมฝรั่ง ยิ่งกินยิ่งอ้วนจนโรคร้ายรุมตอม
เริ่มจากเก็บตัวอย่างถั่วจาก ญี่ปุ่น ไต้หวัน เกาหลี ไทย จำนวน 50 สายพันธุ์ มาหาค่าความหอม ปรากฏว่า สายพันธุ์ “คาโอริ” และ “ชามาเมะ” จากแดนซากุระ ให้กลิ่นหอมที่สุด

จึงนำมาผสมพันธุ์กับถั่วเหลืองไร่พันธุ์เชียงใหม่ 60 และทดลองปลูกที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์กำแพงแสน แต่ต้นที่ได้เตี้ย ใบระดินเสี่ยงเกิดโรคได้ง่าย เลยย้ายพื้นที่ใหม่ไปทดลองปลูกในพื้นที่มีอากาศหนาวเย็นกว่า บริเวณ อ.แม่โจ้ แม่ริม แม่แตง จ.เชียงใหม่ และ อ.แม่สาย จ.เชียงราย
ถั่วเหลืองเติบโตได้ดี ต้นสูงไม่ระดิน ให้ฝักดก และเมื่อเก็บเอาไปต้มทั้งฝักแล้ว มีกลิ่นหอม และพอเอาไปทำ…นมถั่วเหลือง จะมีกลิ่นหอมเหมือนใส่ใบเตย
จึงเหมาะที่จะเอามาทำอาหารเสริมโปรตีนให้แก่เด็กนักเรียนในถิ่นทุรกันดาร จึงได้นำพันธุ์ถั่วเหลืองฝักสดที่ใช้ชื่อว่า MJU1, MJU2 เข้าร่วมโครงการอาหารเสริมในโรงเรียนทางภาคเหนือ และ การอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่เกษตรกรสามารถเอาไปทำเป็นพันธุ์ปลูกขยายในพื้นที่สร้างรายได้เสริมต่อไปในอนาคต
สำหรับผู้ที่สนใจสามารถเข้าชมได้ที่งาน “วันนักประดิษฐ์” ประจำปี 2556 ในวันที่ 2-5 ก.พ. ณ ศูนย์การประชุมอิมแพค ฟอรั่ม เมืองทองธานี จ.นนทบุรี.
ไทยรัฐออนไลน์
- โดย ทีมข่าวเกษตร
- 17 มกราคม 2556, 05:00 น.
ศึกษาการใช้ปุ๋ยในระบบการปลูกพืชเหลื่อมฤดู I. ระบบถั่วเหลือง-ข้าวโพดหวาน-ถั่วเขียว
Published กุมภาพันธ์ 4, 2013 by SoClaimonผู้แต่ง: | ดำริ ถาวรมาศ; ประสพ วีระกรพานิช |
ชื่อเรื่อง: | ศึกษาการใช้ปุ๋ยในระบบการปลูกพืชเหลื่อมฤดู I. ระบบถั่วเหลือง-ข้าวโพดหวาน-ถั่วเขียว |
Article title: | Study of fertilizer usages for a relay cropping system I. Soybean-sweetcorn-mungbean |
ชื่อเอกสาร : | รวมเรื่องย่อการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 18 สาขาพืช ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน 28-30 มกราคม 2523 |
หน่วยงานจัดพิมพ์: | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
สถานที่พิมพ์: | กรุงเทพฯ |
ปีพิมพ์: | 2523 |
หน้า: | หน้า 6 |
จำนวนหน้า: | 114 หน้า |
ภาษา: | ไทย |
สาระสังเขป: | สาระสังเขป (ไทย) |
แหล่งติดตามเอกสาร: | สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก581 2523) |
หมวดหลัก: | F04-Fertilizing |
หมวดรอง: | F08-Cropping patterns and systems |
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: | GLYCINE MAX, ZEA MAYS, VIGNA RADIATA, FERTILIZERS, INTERCROPPING, YIELDS |
อรรถาภิธาน-ไทย: | GLYCINE MAX, ZEA MAYS, VIGNA RADIATA, ปุ๋ย, การปลูกพืชแซม, ผลผลิต |
ดรรชนี-ไทย: | ถั่วเหลือง, ข้าวโพดหวาน, ถั่วเขียว, ปุ๋ย, ระบบการปลูกพืชเหลื่อมฤดู, ผลผลิต |
หมายเลข: | 001990 KC1801006 |
เอกสารฉบับเต็ม: | ![]() |
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: | มีคำสำคัญเหมือนกัน ผู้แต่งคนเดียวกัน |
การจัดระบบการปลูกพืช 2 ครั้ง บนสภาพพื้นที่ดอนที่ใช้น้ำฝน
Published กุมภาพันธ์ 4, 2013 by SoClaimonผู้แต่ง: | ชิลเลอร์, จอห์น เอ็ม.; เรวัต จิระสถาวร |
ชื่อเรื่อง: | การจัดระบบการปลูกพืช 2 ครั้ง บนสภาพพื้นที่ดอนที่ใช้น้ำฝน |
Article title: | Rainfed double cropping in north Thailand |
ชื่อเอกสาร : | รวมเรื่องย่อการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 18 สาขาพืช ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน 28-30 มกราคม 2523 |
หน่วยงานจัดพิมพ์: | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
สถานที่พิมพ์: | กรุงเทพฯ |
ปีพิมพ์: | 2523 |
หน้า: | หน้า 4-4(1) |
จำนวนหน้า: | 114 หน้า |
ภาษา: | ไทย |
สาระสังเขป: | สาระสังเขป (ไทย) |
แหล่งติดตามเอกสาร: | สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ (REF SB16 ก581 2523) |
หมวดหลัก: | F08-Cropping patterns and systems |
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: | ORYZA SATIVA, ARACHIS HYPOGAEA, VIGNA RADIATA, GLYCINE MAX, ZEA MAYS, CROPPING SYSTEMS, RAINFED FARMING, HIGHLANDS, YIELDS, INCOME, THAILAND |
อรรถาภิธาน-ไทย: | ORYZA SATIVA, ARACHIS HYPOGAEA, VIGNA RADIATA, GLYCINE MAX, ZEA MAYS, ระบบการปลูกพืช, การทำการเกษตรโดยอาศัยน้ำฝน, ที่สูง, ผลผลิต, รายได้, ประเทศไทย |
ดรรชนี-ไทย: | ข้าวไร่, ถั่วลิสง, ถั่วเขียว, ถั่วเหลือง, ข้าวโพด, ระบบการปลูกพืช 2 ครั้ง, พื้นที่ดอนใช้น้ำฝน, ผลผลิต, รายได้, ภาคเหนือ |
หมายเลข: | 001988 KC1801004 |
เอกสารฉบับเต็ม: | ![]() |
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: | มีคำสำคัญเหมือนกัน ผู้แต่งคนเดียวกัน |
การทดสอบประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงในป้องกันกำจัดหนอนเจาะฝักถั่วเหลือง
Published กุมภาพันธ์ 3, 2013 by SoClaimon![]() |
ฐานข้อมูลผลงานวิจัย กรมวิชาการเกษตร |
|
1–1 of 1 record found matching your query (RSS): | Login |
Select All Deselect All | << 1 >> | ![]() |
Record | Links | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
Author | สุเทพ สหายา | ![]() |
|||||
Title | การทดสอบประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงในป้องกันกำจัดหนอนเจาะฝักถั่วเหลือง | Type | Journal Article | ||||
Year ![]() |
2552 | Publication | การทดลอง | Abbreviated Journal | |||
Volume | Issue | Pages | |||||
Corporate Author | บุญทิวา วาทิรอยรัมย์และเตือนจิตต์ สัตยาวิรุทธ์ | Thesis | |||||
Address | กลุ่มกีฏและสัตววิทยา สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช | ||||||
Keywords | สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชชนิดใหม่ | ||||||
Abstract | ทดสอบประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงป้องกันกำจัดหนอนเจาะฝักถั่วเหลืองแต่พบการระบาดต่ำไม่สามารถทดลองได้ จึงปรับแผนการทดลองทดสอบกับมวนศัตรูถั่วเหลืองซึ่งพบการระบาดมาก ดำเนินการทดลองที่ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ ระหว่างเดือนมกราคม 2550 – กันยายน 2552 วางแผนการทดลองแบบ RCB 4 ซ้ำ 9 กรรมวิธี คือ การพ่นสาร acetamiprid (Molan 20 %SP), buprofezin (Napam 40%SC), thiamethoxam/lambdacyhalothrin (Eforia 247 ZC 14.1/10.6%ZC), lambdacyhalothrin (Karate Zeon 2.5 %CS), gammacyhalothrin (Proaxis 1.5%CS), imidacloprid (Provado 70 %WG), fipronil (Ascend 5 %SC) และ triazophos (Hostathion 40 %EC) อัตรา 10, 30, 5, 20, 20, 2, 20 และ 50 กรัมหรือมิลลิลิตร/น้ำ 20 ลิตร ตามลำดับและกรรมวิธีไม่พ่นสาร ผลพบว่า การพ่นสารที่มีประสิทธิภาพดี ได้แก่ lambdacyhalothrin, gammacyhalothrin, thiamethoxam/lamdacyhalothrin และ fipronil ส่วน acetamiprid, imidacloprid และ buprofezin มีประสิทธิภาพปานกลาง ซึ่งสารทุกชนิดดังกล่าวข้างต้นมีประสิทธิภาพเทียบเท่าถึงดีกว่าสารฆ่าแมลง triazophos อัตรา 50 มิลลิลิตร/น้ำ 20 ลิตร ที่ใช้เป็นสารเปรียบเทียบในครั้งนี้ | ||||||
Publisher | สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช | Place of Publication | กรมวิชาการเกษตร | Editor | |||
Language | ไทย | Summary Language | ไทย | Original Title | |||
Series Editor | Series Title | Abbreviated Series Title | |||||
Series Volume | Series Issue | Edition | |||||
ISSN | ISBN | Medium | |||||
Area | Expedition | Conference | |||||
Notes | Approved | yes | |||||
Call Number | doa @ user @ | Serial | 1110 | ||||
Permanent link to this record |