ศาสตร์เกษตรดินปุ๋ย-ขอบคุณแหล่งข้อมูล : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผู้แต่ง: | มณฑล อนงค์พรยศกุล; จรวย สุขแสงจันทร์; ธัญญานุช อินแตง |
ชื่อเรื่อง: | การคาดการณ์การเคลื่อนที่ของคราบน้ำมันจากกระแสน้ำเนื่องจากลมด้วย POM กรณีศึกษาเกาะเสม็ด จังหวัดระยอง, 27 กรกฎาคม 2556 |
Article title: | Predicted movement of oil spill by wind driven current from POM in case study Samet island, Rayong province on 27 July, 2013 |
ชื่อเอกสาร : | เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52: สาขาประมง, สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์ |
Source title : | Proceedings of 52nd Kasetsart University Annual Conference: Fisheries, Agricultural Extension and Home Economics |
หน่วยงานจัดพิมพ์: | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา; กระทรวงศึกษาธิการ; กระทรวงเกษตรและสหกรณ์; กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี; กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม; กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร; สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ; สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย |
ชื่อการประชุม: | การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52 |
สถานที่ประชุม: | กรุงเทพฯ |
วันที่ประชุม: | 4-7 ก.พ. 2557 |
สถานที่พิมพ์: | กรุงเทพฯ |
ปีพิมพ์: | 2557 |
หน้า: | หน้า 295-299 |
จำนวนหน้า: | 487 หน้า |
ภาษา: | ไทย |
สาระสังเขป: | สาระสังเขป (ไทย, อังกฤษ) |
หมวดหลัก: | P10-Water resources and management |
หมวดรอง: | P40-Meteorology and climatology |
หมวดรอง: | U10-Mathematical and statistical methods |
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: | PETROLEUM; POLLUTION; MOVEMENT; WINDS; VELOCITY; TIDES; WATER CIRCULATION; FORECASTING; MODELS; ISLANDS; THAILAND |
อรรถาภิธาน-ไทย: | ปิโตรเลียม; มลพิษ; การเคลื่อนที่; ลม; ความเร็ว; น้ำขึ้นน้ำลง; การหมุนเวียนของกระแสน้ำ; การพยากรณ์; แบบจำลอง; หมู่เกาะ; ประเทศไทย |
ดรรชนี-อังกฤษ: | OIL SPILL; WIND STRESS; WIND DRIVEN CURRENT; MOVEMENT; PREDICTION; PRINCETON OCEAN MODEL; SAMET ISLAND; RAYONG PROVINCE |
ดรรชนี-ไทย: | คราบน้ำมัน; การเคลื่อนที่; กระแสน้ำทะเล; อัตราเร็วกระแสน้ำ; ลม; ทิศทางลม; การคาดการณ์; แบบจำลอง POM; เกาะเสม็ด; จ.ระยอง |
บทคัดย่อ: | การเคลื่อนที่ของคราบน้ำมันที่เกิดจากลมบริเวณเกาะเสม็ด จังหวัดระยอง วันที่ 27 กรกฎาคม 2556 เป็นการศึกษารูปแบบกระแสน้ำโดยพิจารณาปัจจัยหลักคือลม แบบจำลองประยุกต์จาก Princeton Ocean Model (POM) 2 มิติ เพื่อคาดการณ์การเคลื่อนที่ของคราบน้ำมันจากกระแสน้ำ การศึกษาประกอบด้วยปัจจัยที่มีผลกระทบที่สำคัญต่อการเคลื่อนที่ของคราบน้ำมัน ได้แก่ ลักษณะลมพัดตามฤดูกาล ที่พัดเข้าหาฝั่งอยู่ในช่วง 5-8 เมตรต่อวินาที ทิศทางลมที่ใช้ในการศึกษาในแบบจำลองเป็นลมมาจากทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ผลของแบบจำลองพบว่าอัตราเร็วกระแสน้ำเฉพาะที่เกิดจากลม ณ บริเวณที่น้ำมันรั่วไหลมีค่าประมาณ 10-20 เซนติเมตรต่อวินาที น้ำเคลื่อนที่ไปทิศตะวันออกได้ไกลวันละประมาณ 8-16 กิโลเมตรซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม RADARSAT 2 สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) ที่รายงานว่าคราบน้ำมันมีการเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือด้วยความเร็วประมาณ 12-20 กิโลเมตรต่อวัน |
หมายเลข: | 013701 KC5204035 |
เอกสารฉบับเต็ม: | ![]() |
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: | มีคำสำคัญเหมือนกัน ผู้แต่งคนเดียวกัน |