การจำแนกกลุ่มน้ำปลาไทยโดยใช้เทคนิคสเปกโตรสโคปีย่านใกล้อินฟราเรดร่วมกับเคมโมเมตริก
Published กุมภาพันธ์ 25, 2012 by SoClaimon
http://kucon.lib.ku.ac.th/cgi-bin/KUCON.exe?rec_id=009560&database=KUCON&search_type=link&table=mona&back_path=/KUCON/mona&lang=thai&format_name=TFMON

ผู้แต่ง: |
ปิติพร ฤทธิ์เรืองเดช; ธงชัย สุวรรณสิชณน์; วิชัย หฤทัยธนาสันติ์; วารุณี ธนะแพสย์ |
ชื่อเรื่อง: |
การจำแนกกลุ่มน้ำปลาไทยโดยใช้เทคนิคสเปกโตรสโคปีย่านใกล้อินฟราเรดร่วมกับเคมโมเมตริก |
Article title: |
Classification of Thai commercial fish sauces by near-infrared spectroscopywith chemometrics |
ชื่อเอกสาร : |
เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 44 : สาขาอุตสาหกรรมเกษตร สาขาเศรษฐศาสตร์ สาขาบริหารธุรกิจ |
Source title : |
Proceedings of 44th Kasetsart University Annual Conference : Agro-Industry, Economics and Business Administration |
หน่วยงานจัดพิมพ์: |
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา; กระทรวงศึกษาธิการ; กระทรวงเกษตรและสหกรณ์; กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี; กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม; กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร; สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ; สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย |
ชื่อการประชุม: |
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 44 |
สถานที่ประชุม: |
กรุงเทพฯ |
วันที่ประชุม: |
30 ม.ค.-2 ก.พ. 2549 |
สถานที่พิมพ์: |
กรุงเทพฯ |
ปีพิมพ์: |
2549 |
หน้า: |
หน้า 114-122 |
จำนวนหน้า: |
766 หน้า |
ภาษา: |
อังกฤษ |
สาระสังเขป: |
สาระสังเขป (ไทย, อังกฤษ) |
แหล่งติดตามเอกสาร: |
สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์ |
หมวดหลัก: |
Q04-Food composition |
อรรถาภิธาน-อังกฤษ: |
SAUCES, FISH PRODUCTS, CLASSIFICATION, GRADING, INFRARED SPECTROPHOTOMETRY |
อรรถาภิธาน-ไทย: |
ซอส; ผลิตภัณฑ์ปลา; การจำแนกหมวดหมู่; การจัดระดับ; อินฟราเรดสเปกโทรโฟโตเมทรี |
ดรรชนี-ไทย: |
น้ำปลา, การจำแนก, สเปกโตรสโคปีย่านใกล้อินฟราเรด, เคมโมเมตริก, การดูดกลืนแสง, สเปกตรัม |
บทคัดย่อ: |
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาช่วงสเปกตรัมที่เหมาะสมเพื่อใช้ในการสร้างสมการแบ่งกลุ่มน้ำปลาไทยโดยใช้เทคนิคสเปกโตรสโคปีย่านใกล้อินฟราเรดและเคมโมเมตริก เทคนิคการคัดเลือกช่วงสเปกตรัมที่เหมาะสมที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ Moving window partial least squares regression (MWPLSR) และ Searching combination moving window partial least squares (SCMWPLS) และเทคนิคที่ใช้ในการสร้างสมการแบ่งกลุ่มคือ Soft Independent Modeling of Class Analog (SIMCA) จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าสมการแบ่งแยกกลุ่มน้ำปลาที่สร้างจากนำค่าการดูดกลืนแสง ณ ช่วงความยาวคลื่น 1) ช่วงสเปกตรัม 1100-1900 nm และ 2000-2440 nm 2) ช่วงสเปกตรัม 1582-1762 nmที่คัดเลือกด้วยวิธีMWPLSR 3) ช่วงสเปกตรัม 2136-2428 nmคัดเลือกด้วยวิธีMWPLSR 4) ช่วงสเปกตรัมผสมผสานช่วงความยาวคลื่น1582-1762 และ 2136-2428 nm และ 5) ช่วงสเปกตรัมที่คัดเลือกด้วยวิธี SCMWPLS คือ 2264-2428 nm สามารถแบ่งแยกกลุ่มตัวอย่างน้ำปลาได้มีความถูกต้องมากกว่าร้อยละ 70 โดยที่ช่วงสเปกตรัมที่คัดเลือกด้วยวิธี SCMWPLS ให้ค่าความถูกต้องมากที่สุดเท่ากับร้อยละ 85 |
หมายเลข: |
009560 KC4406014 |
เอกสารฉบับเต็ม: |
![[Download Fulltext]](https://i2.wp.com/kucon.lib.ku.ac.th/kucon/imgs/pdficon.gif) |
ค้นข้อมูลใกล้เคียง: |
มีคำสำคัญเหมือนกัน ผู้แต่งคนเดียวกัน |
13.874246
100.669851
Like this:
ถูกใจ กำลังโหลด...
Related